Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10009
Title: Isolation and characterization of epicuticular agglutinin from seedling of soybean (glycine max)
Other Titles: การแยกและศึกษาสมบัติของแอกกลูตินินบนพื้นผิวของกล้าถั่วเหลือง (Glycine max)
Authors: Anchalee Chiabchalard
Advisors: Tipaporn Limpaseni
Patchara Verakalasa
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: Tipaporn.L@Chula.ac.th
ไม่มีข้อมูล
Subjects: Agglutinins
Soybean (Glycine max)
Issue Date: 1993
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Surface agglutinin was extracted from soybean (Glycine max L.) seedling surface with distilled water by a 91-minute immersion. The agglutinin in the seedling was age-dependent and detected maximally in cotyledon of 3-day-old seedlings. The agglutinin can agglutinate human group A red cells and trypsin-treated rabbit erythrocytes but cannot agglutinate human group B and O red blood cells. The hemagglutinating activity was specifically inhibited by galactose and N-acetyl-D-galactosamine. The soybean surface agglutinin (SSA) was purified by ammonium sulfate precipitation and N-acetylgalactosamine affinity chromatography. The optimum temperature for hemagglutination activity by SSA was 30-40 degree C and the optimum pH was 8.0 Gel filtration and SDS-polyacrylamide gel electrophoresis showed that SSA contained approximately 28,000 Dalton polypeptide subunit that was quite similar to that of commercial soybean agglutinin (SBA) (MW equal 29,000 Dalton). Isoelectric focusing gel electrophoresis revealed the pI of SSA to be 7.0, but in the SBA, two bands of proteins which pI equal 6.8 and 6.65 were found. Although the biological properties of both purified SSA and commercial SBA were quite similar, they display slight difference in pH optima, pI and lactose specificity. The purified SSA also had fungistatic effect on some soybean pathogenicfungi.
Other Abstract: ในการศึกษานี้พบว่า มีสารแอกกลูตินิน บนพื้นผิวของกล้าถั่วเหลือง (Glycine max. L.) ซึ่งสามารถสกัดได้โดยการแช่ในน้ำกลั่นแม้ในช่วงเวลาสั้น ๆ แค่ 1 นาที แต่จะสกัดได้มากที่สุดถ้าไว้นาน 91 นาที แอกกลูตินินที่สกัดได้ จะพบปริมาณต่างกันในกล้าอายุต่าง ๆ ในกล้าอายุน้อยจะพบสารแอกกลูตินินจากพื้นผิวมากกว่ากล้าอายุมากขึ้น สารแอกกลูตินินที่สกัดได้ จะมีสูงสุดบนพื้นผิวของใบเลี้ยงของกล้าถั่วเหลือง อายุ 3 วัน สารแอกกลูตินินที่สกัดได้มีความจำเพาะต่อเม็ดเลือดแดงคน กลุ่ม A และเม็ดเลือดแดงกระต่ายที่ถูกย่อยด้วยทริปซินแล้ว แต่ไม่มีความจำเพาะต่อเม็ดเลือดแดงคนกลุ่ม B และ O การตกตะกอนเม็ดเลือดแดงสามารถถูกยั้บยั้งได้อย่างจำเพาะโดยน้ำตาลกาแลคโตสและอะเซติลกาแลคโตซามีน สารแอกกลูตินินที่สกัดได้ถูกทำให้บริสุทธิ์ โดยผ่านขั้นตอนการตกตะกอนด้วยแอมโมเนียม ซัลเฟตและผ่านแอฟฟินิตี้คอลัมน์ สารที่ได้จากการชะคอลัมน์ด้วยน้ำตาลกาแคลโตสคือสารแอกกลูตินินจากพื้นผิวถั่วเหลือง (SSA : soybean surface agglutinin) เมื่อศึกษาสมบัติของสาร SSA พบว่าให้แอกติวิตี้สูงสุดที่อุณหภูมิ 30-40 องศา C และในบัฟเฟอร์ที่มี pH 8.0 เมื่อศึกษาน้ำหนักโมเลกุลของ SSA ด้วย SDS- โพลีอะคริลาไมต์ เจลอิเลคโตรโฟริซิส และเจลฟิลเตรชั่น พบว่า SSA มีน้ำหนักโมเลกุลของหนึ่งหน่วยย่อยประมาณ 28,000 ดัลตัน ซึ่งก็ใกล้เคียงกับแอกกลูตินินจากเมล็ดถั่วเหลือง (SBA : soytean agglutinin) (ประมาณ 29,000 ดัลตัน) หลังจากทำ Isoelectric focusing (IEF) พบว่า pI ของ SSA มีค่าประมาณ 7.0 ส่วน SBA แยกได้ 2 แถบโปรตีนที่มีค่า pI 6.8 และ 6.65 SSA ที่แยกได้และ SBA มีสมบัติทางชีวภาพคล้ายคลึงกันมากยกเว้นค่า pH ที่เหมาะสมค่า pI และความจำเพาะต่อน้ำตาลแลคโตส นอกจากนี้ SSA ที่สกัดได้ยังมีผลยับยั้งการเจริญของสปอร์เชื้อราศัตรูพืชของถั่วเหลืองบางตัวอีกด้วย
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1993
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Biochemistry
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10009
ISBN: 9745830224
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anchalee.pdf4.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.