Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10529
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิมพ์รำไพ เปรมสมิทธ์-
dc.contributor.authorอาภรณ์ ไชยสุวรรณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-26T08:10:52Z-
dc.date.available2009-08-26T08:10:52Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741797559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10529-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้บริการจากหน่วยงานภายนอกของ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ในด้านสาเหตุที่ใช้บริการ ประเภทของงานห้องสมุดที่ใช้ ประเภทหน่วยงานภายนอกและบริการของหน่วยงานภายนอกที่ใช้ รวมทั้งปัญหาในการใช้บริการจากหน่วยงานภายนอก การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสัมภาษณ์ ผู้ให้สัมภาษณ์คือ ผู้อำนวยการห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา แบ่งเป็นผู้อำนวยการห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ จำนวน 21 คน ผู้อำนวยการห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของเอกชน จำนวน 18 คน รวมทั้งสิ้น 39 คน ผลการวิจัยพบว่า ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาส่วนใหญ่ใช้บริการจากหน่วยงานภายนอกเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการดำเนินงานของหน่วยงานซึ่งสอดคล้องกับสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ประเภทของงานห้องสมุดที่ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาส่วนใหญ่ใช้บริการของหน่วย งานภายนอกคืองานเทคนิค โดยใช้บริการในงานจัดหาในการสั่งซื้อทรัพยากรสารนิเทศ ซึ่งสอดคล้องกับสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ประเภทของหน่วยงานภายนอกที่ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาส่วนใหญ่ใช้บริการจาก หน่วยงานภายนอกคือหน่วยงานของเอกชน โดยใช้บริการแบบสมบูรณ์ และปัญหาที่ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาประสบในการใช้บริการจากหน่วยงานภายนอก คือไม่สามารถ ควบคุมการดำเนินงานของหน่วยงานภายนอกได้en
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to invatigate the outsourcing of academic libraries, in terms of, reasons for outsourcing, types of library works outsourced, types of outsourcing agencies and their services ; and problems in outsourcing. This study was a survey research in which data was collected through structured interviews with 21 directors of state academic libraries and 18 directors of private academic libraries, totalled 39 directors. The results are as follows : most academic libraries outsource in order to increase operational efficiency ; they outsource in technical service, particularly ordering information resources ; outsourcing agencies are private vendors ; most libraries use complete outsourcing. Problem encounted most in outsourcing is inability to control operations of outsourcing agencies.en
dc.format.extent1002036 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.412-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา -- ไทยen
dc.subjectการใช้บริการจากหน่วยงานภายนอกen
dc.titleการใช้บริการจากหน่วยงานภายนอกของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาen
dc.title.alternativeOutsourcing of academic librariesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPimrumpai.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.412-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aporn.pdf978.55 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.