Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1074
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรวรรณ ปิลันธน์โอวาท-
dc.contributor.authorปานจิต รวีอร่ามวงศ์, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-25T04:23:06Z-
dc.date.available2006-07-25T04:23:06Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745313408-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1074-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractศึกษารูปแบบกลยุทธ์ในการเจรจาต่อรองของตำรวจที่สื่อสารกับคนร้าย และศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จหรือความล้มเหลวในการเจรจาต่อรอง โดยประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ประกอบไปด้วยสื่อมวลชน หน่วยกู้ภัย นักจิตวิทยา ประชาชนที่ร่วมอยู่ในเหตุการณ์การจับตัวประกัน และเจ้าหน้าที่ตำรวจที่เข้าร่วมในเหตุการณ์คนร้ายจับตัวประกัน ซึ่งแบ่งเป็น เหตุการณ์จับตัวประกันที่เป็นการก่อการร้ายสากล และเหตุการณ์ที่เป็นการจับตัวประกันในระดับทั่วไป โดยใช้การสัมภาษณ์ในการหาข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบที่เจ้าหน้าที่ตำรวจใช้ในการเจรจาต่อรองกับคนร้ายจับตัวประกันประกอบไปด้วย การสร้างความไว้วางใจ ซึ่งประกอบไปด้วยการพูดคุยเพื่อปลอบประโลม การสอบถามข้อมูลทั่วๆ ไป และการแต่งกายเป็นผู้ที่ประกอบอาชีพอื่นที่มิใช่เครื่องแบบของเจ้าหน้าที่ตำรวจ การสร้างสัมพันธ์ การแสดงความเห็นอกเห็นใจ การใช้คำถามปลายเปิด การหลีกเลี่ยงการพูดโกหกแต่ไม่พูดความจริงโดยอ้างหลักเหตุผล การถ่วงเวลา การใช้ความเงียบ และการใช้สรรพนามที่เหมาะสม ส่วนในด้านของปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ หรือความล้มเหลวในการเจรจากับคนร้าย ได้แก่ พื้นฐานของคนร้าย พื้นฐานในการวางแผนการเจรจากับคนร้าย เป้าหมายการเจรจา การจัดชุดเจรจาต่อรอง กลยุทธ์ลักษณะการเจรจา และข้อจำกัดในการตั้งเงื่อนไขของคนร้ายen
dc.description.abstractalternativeTo study negotiation strategies of police officers with hostage takers and to study the elements that affected the negotiation situation : success or failure. There were five sampling groups in this research : journalists, rescuers, psychologists, the public at large with had experienced the hostage taking situation and the police officers who negotiated with the hostage takers. By the hostage situation, this research separated the situation into two cases : the first one was terrorism hostage situation and the second one was general hostage situation. The research found that the strategies used in negotiation were uncertainty reduction, relationship building, sympathy expressing, opened-question asking, lie avoidance, incessant talks while procrastinating for proper rescue, appropriate pronoun usage. Success or failure in negotiation were the demographic and psychographic backgrounds of the hostage takers, the plan to negotiate, the objectives of the negotiation, the team set to negotiate, strategies of negotiation and the condition and limitation of the requests of hostage takers.en
dc.format.extent1571269 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.1154-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเจรจาต่อรองen
dc.subjectการสื่อสารen
dc.subjectบุคลิกภาพen
dc.subjectพฤติกรรมมนุษย์en
dc.subjectความต้องการ (จิตวิทยา)en
dc.titleการเจรจาต่อรองของเจ้าหน้าที่ตำรวจกับคนร้ายในกรณีคนร้ายจับตัวประกันen
dc.title.alternativeNegotiation in hostage situation between police officers and hostage takersen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวาทวิทยาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorOrawan.P@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.1154-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
panjit.pdf1.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.