Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10968
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิรมล ชยุตสาหกิจ-
dc.contributor.authorสุขศรี เลิศอารมย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2009-09-03T02:41:19Z-
dc.date.available2009-09-03T02:41:19Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740312896-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10968-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่สัมพันธ์กับการใช้กลวิธีการเผชิญปัญหาของบิดา มารดาที่บุตรเข้ารับการรักษาในหน่วยวิกฤตกุมารเวชกรรม กลุ่มตัวอย่างเป็นบิดามารดาที่มีบุตรเข้ารับการรักษาในหน่วยวิกฤตกุมาร เวชกรรมและหน่วยวิกฤตทารกแรกเกิดของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์เป็นครั้งแรก ระยะเวลาในการเก็บข้อมูลคือระยะเวลา 24 72 ชั่วโมงแรกที่บุตรเข้ารักษาในหน่วยวิกฤตโดยบิดามารดาได้เข้าเยี่ยมบุตรใน หน่วยวิกฤตแล้วอย่างน้อย 1 ครั้ง จำนวนบิดามารดารวมทั้งสิ้น 200 คน โดยบิดามารดามีช่วงอายุ 16 ปีถึง 55 ปี อายุเฉลี่ย 37.94 ปี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดบุคลิกภาพและแบบวัดกลวิธีการเผชิญปัญหา สถิติที่ใช้คือการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน (Multiple Regression analysis with Stepwise) ผลการวิจัยพบว่า : 1. บุคลิกภาพเป็นปัจจัยที่สัมพันธ์กับการใช้กลวิธีการเผชิญปัญหาของบิดามารดา ที่บุตรเข้ารับการรักษาในหน่วยวิกฤตกุมารเวชกรรม ซึ่งสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงคะแนนกลวิธีการเผชิญปัญหาได้ร้อยละ 4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. บิดามารดาที่บุตรเข้ารับการรักษาในหน่วยวิกฤตกุมารเวชกรรม ใช้กลวิธีการเผชิญปัญหาทั้งแบบจัดการที่ปัญหาโดยตรงและแบบจัดการที่อารมณ์ /ความรู้สึกควบคู่กันไป โดยบิดามารดา ร้อยละ 99 ใช้กลวิธีการเผชิญปัญหาแบบจัดการที่ปัญหาโดยตรง และร้อยละ 1 ใช้กลวิธีการเผชิญปัญหาแบบจัดการที่อารมณ์/ความรู้สึกen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to investigate relationships between personal factors and coping strategies in parents of children hospitalized in Pediatric intensive care unit (PICU). Subjects were parents who were the primary caregivers of a child who was admitted to the Chulalongkorn Memorial Hospital for the first time. Data was collected 24 - 72 hours after the childʼs admission, and after parents had visited their child at least once. Parents ranged in age from 16 to 55 years-old, with a mean age of 32.94 years (SD=7.68, N=200). The research instruments were Personality Questionnaires, The Glazer-Stress Control Life-Style Questionnaires (Barlow,1986) and the Coping scale (Jalowiec,1984). Stepwise multiple regression analysis was conducted. The results are as follows : 1. Personal factors of parents were correlated with their coping strategies. 4 % of the variance in parent coping was explained by parentʼs personality. (R2=.04, p < .01). 2. 99% of the parents frequently used Problem oriented coping and 1% of the parents used Affective oriented coping.en
dc.format.extent625014 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความเครียด (จิตวิทยา)en
dc.subjectบิดามารดาen
dc.titleปัจจัยส่วนบุคคลที่สัมพันธ์กับกลวิธีการเผชิญปัญหาของบิดามารดาที่บุตรเข้ารับการรักษาในหน่วยงานวิกฤตกุมารเวชกรรมen
dc.title.alternativePersonal factors related to coping strategies in parents of children hospitalized in Pediatric intensive care uniten
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNiramol.Ch@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
suksri.pdf610.37 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.