Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11429
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปาริชาต สถาปิตานนท์-
dc.contributor.authorรัชณิดา ชำนาญมนต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-10-01T07:51:56Z-
dc.date.available2009-10-01T07:51:56Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746367749-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11429-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของความรู้และทัศนคติต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ก่อนและหลังการเปิดรับชมรายการ "ทุ่งแสงตะวัน" ตลอดการเพิ่มความรู้และการเปลี่ยนแปลงทัศนคติต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร กับนักเรียนในเขตชนบท 2. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเพิ่มความรู้และการเปลี่ยนแปลงทัศนคติต่อการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมกับตัวแปรทางด้าน เพศ อาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจ และพฤติกรรมการเปิดรับชมรายการ 3. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของความคิดเห็นของนักเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร กับนักเรียนในเขตชนบท ที่มีต่อรายการ "ทุ่งแสงตะวัน" การวิจัยครั้งนี้มีลักษณะเป็นการวิจัยข้อมูลที่ได้จากการ วิเคราะห์ โดยจะนำเสนอในรูปแบบของการแจกแจงความถี่ค่าร้อยละ การทดสอบ t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนและหาค่า Chi-square ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนในเขตกรุงเทพมหานครมีความรู้เรื่องการอนุรักษ์เรื่องสิ่งแวดล้อมมากกว่านักเรียนในเขตชนบท ทั้งก่อนและหลังการเปิดรับชมรายการ แต่นักเรียนในเขตชนบทมีทัศนคติที่ดีต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทั้งก่อนและหลังการเปิดรับชมรายการดีกว่านักเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร สำหรับการเพิ่มความรู้และการเปลี่ยนแปลงทัศนคติต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียนทั้งสองกลุ่มนั้นไม่แตกต่างกัน ส่วนตัวแปรทางด้านเพศ อาชีพของมารดา ฐานะทางเศรษฐกิจ และพฤติกรรมการเปิดรับชมรายการ ไม่มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มความรู้และการเปลี่ยนแปลงทัศนคติต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยกเว้นตัวแปรด้านอาชีพของบิดา ที่มีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงทัศนคติต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในด้านความคิดเห็นที่มีต่อรายการนั้น กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มมีความคิดเห็นแตกต่างกัน คือ นักเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร คิดว่าเป็นรายการที่ดีมีประโยชน์ ทำให้ได้รับความรู้และทราบถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย แต่ควรปรับปรุงในด้านภาษาของตัวแสดง และมีพิธีกรวัยรุ่นเพิ่มขึ้น ตลอดจนการเพิ่มเนื้อหาเรื่องสิ่งแวดล้อมในกรุงเทพมหานคร ส่วนนักเรียนในเขตชนบทคิดว่าเป็นรายการที่ดีและมีประโยชน์ ได้รับความรู้และความสนุกสนาน ทำให้เกิดความรักและหวงแหนสิ่งแวดล้อมในภูมิลำเนาของตนเองตลอดจนมีความชื่นชอบในตัวพิธีกรซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของรายการและต้องการให้เพิ่มเนื้อหาสิ่งแวดล้อมในเขตชนบท โดยเฉพาะเรื่องราวระหว่างเด็กกับสัตว์เลี้ยงให้มากขึ้นen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is : 1) To find the level of differences in knowledge and attitude towards environmental conservation between students in Bangkok and students in rural areas after watching Tung-Sang-Ta-Wan TV series ; 2) To study the relationship of students' personal studies, frequency of watching the series and their knowledge and attitude towards environmental conservation. A Quasi-Experimental research was conducted. The total member of samples were 400, including 200 students from Bangkok and 200 students from rural areas. Data were analyzed and presented in terms of percentage, means, t-test, chi-square and ANOVA. The results of the research are that : (1) Students in Bangkok have more knowledge on environment conservation than students in rural areas ; (2) Students in rural areas have better attitude towards environment conservation than students in Bangkok before and after watching the program. However, both groups of not have any significant difference in the incremental level of knowledge and attitude towards environment conservation. (3) Gender, occupation, income, media exposure do not have any significant correlation with the increasing level of knowledge and attitude. Only the variable "father's occupation" has significantly correlated with attitude towards environment conservation. Students in Bangkok and students in rural areas are significantly different in terms of opinious about the Tung-Sang-Ta-Wan series, i.e. students in Bangkok think that the program is beneficial as it increases their understanding about environmental problems in the society. They have comments on using formal tonation in the series. They would like to see more teenager supperstars in the series. On the other hand, students in rural areas agree with the rural tonation which they think can represent the program very well. They also think the series has raised concerns on the environment conservation. However all of the students think thai Tung-Sang-Ta-Wan is a valuable series.en
dc.format.extent796838 bytes-
dc.format.extent828186 bytes-
dc.format.extent1046125 bytes-
dc.format.extent769806 bytes-
dc.format.extent1014187 bytes-
dc.format.extent861677 bytes-
dc.format.extent941645 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectทัศนคติen
dc.subjectการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมen
dc.subjectสื่อมวลชนกับสิ่งแวดล้อมen
dc.subjectทุ่งแสงตะวัน (รายการโทรทัศน์)en
dc.titleประสิทธิผลของรายการ ทุ่งแสงตะวันในด้านความรู้และทัศนคติต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของเด็กen
dc.title.alternativeEffectiveness of Tung-Sang-Ta-Wan TV series on children's knowledge and attitude towards environmental conservationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorParichart.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ratchanida_Ch_front.pdf778.16 kBAdobe PDFView/Open
Ratchanida_Ch_ch1.pdf808.78 kBAdobe PDFView/Open
Ratchanida_Ch_ch2.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Ratchanida_Ch_ch3.pdf751.76 kBAdobe PDFView/Open
Ratchanida_Ch_ch4.pdf990.42 kBAdobe PDFView/Open
Ratchanida_Ch_ch5.pdf841.48 kBAdobe PDFView/Open
Ratchanida_Ch_back.pdf919.58 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.