Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11839
Title: L'histoire et la mise en fiction dans "Quatrevingt-Treize" de Victor Hugo
Other Titles: ศิลปะการเขียนนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ เรื่อง กาตเทรอแวงแทรส ของวิกตอร์ อูโก
Authors: Niparat Imsil
Advisors: Rattanaporn Taranurak
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Arts
Advisor's Email: No information provided
Subjects: Hugo, De Victor -- Style
Writing
Historical fiction
Issue Date: 2002
Publisher: Chulalongkorn Universtiy
Abstract: Notre etude centree sur l'Histoire et la mise en fiction dans Quatrevingt-treize se propose d'analyser les trois principaux elements romanesques : personnages, temps et espace, dans le but de degager les traits caracteristiques de ce roman historique. D'emblee, nous constatons que la guerre de Vendee, theme principale de l'oeuvre est retracee avec exactitude et precision. Un grand nombre de noms des individus et des lieux sont empruntes a la realite pour donner une illusion de reel. Le narrateur respecte egalement de la chronlogie historique. Cependant il se prete a de multiple distorsions pour la raison de la vraisemblance. L'univers de Quatrevingt-treize est peuple d'une multitude des personnages mais l'intrigue romanesque est conduite par un nombre limite des individus. Par opposition aux heros fictifs, les figures historiques se limitent au role secondaire et episodique. Les rapports des personnages se caracterisent par la structure ternaire. La premiere triade est composee de trois chefs republicains : Danton, Marat et Robespierre, la deuxieme, trois heros imaginaires : Lantenac, Cimourdain et Gauvain et le dernier trio d'origine populaire : le sergent Radoub, Michel Flechard et ses enfants. Les personnages de Quatrevingt-treize sont representatifs des ideologies politiques qui les opposent, les uns voues a la Revolution, les autres a l'Ancien regime. L'auteur intervient a maintes reprises dans le recit pour donner des commentaires en son propre nom (emploi de je-narrateur) car il veut expliquer le present par le passe. Ce roman se caracterise par la pratique theatrale. L'espace evoque sert de decor ou se meuvent les personnages. D'ailleurs l'auteur confere a l'espace une dimension symbolique grace a l'emploi des mythes et des images litteraires.
Other Abstract: จุดมุ่งหมายของวิทยานิพนธ์เล่มนี้ คือ การศึกษาศิลปะการเขียนนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ เรื่อง กาตเทรอแวงแทรส โดยวิเคราะห์สามประเด็นหลัก คือ ตัวละคร มิติเวลา และมิติสถานที่ เพื่อศึกษาลักษณะเฉพาะของนวนิยายอิงประวัติศาตร์ แก่นเรื่องหลักของนวนิยายเรื่องนี้ คือการก่อกบฏของแคว้นวองเดเพื่อต่อต้านรัฐบาลฝรั่งเศส การนำเสนอนวนิยายเรื่องนี้ให้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์อย่างละเอียดถูกต้อง โดยมีการแทรกชื่อของบุคคลและสถานที่จริง อย่างไรก็ตามผู้ประพันธ์ได้เปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงบางประการ เพื่อสร้างความสมจริงให้กับนวนิยาย นวนิยายเรื่องนี้มีการนำเสนอตัวละครมากมาย แต่มีตัวละครเดินเรื่องไม่กี่ตัว ตัวละครจินตนาการมีบทบาทสำคัญ ส่วนตัวละครในประวัติศาสตร์เป็นตัวประกอบและเข้าฉากเป็นบางครั้งเท่านั้น ผู้ประพันธ์จัดตัวละครให้เกี่ยวข้องกันเป็นกลุ่มๆ กลุ่มละสามคน กลุ่มแรกได้แก่ผู้นำรัฐบาลมีสามคน คือ ด็องตง มาราต์ และโรแบสปิแยร์ กลุ่มที่สองตัวละครเอกได้แก่ ลองเตอนัก ซิมูแด็ง และโกแว็ง กลุ่มสุดท้ายเป็นประชาชนได้แก่ ราดูบ์ มิแชล เฟรชาร์ดและลูกๆ ของเธอ ตัวละครเหล่านี้เป็นตัวแทนกระแสความคิดทางการเมืองที่ขัดแย้งกัน ฝ่ายหนึ่งสนับสนุนระบบกษัตริย์ อีกฝ่ายสนับสนุนการปฏิวัติ อูโกหรือผู้เล่าเรื่องแสดงความคิดเห็นอย่างเปิดเผยในนวนิยายโดยใช้คำ "ฉัน" แทนตนเอง ทั้งนี้เพราะต้องการใช้เหตุการณ์ในอดีตเป็นภาพสะท้อนของความขัดแย้งใน ปัจจุบัน ผู้ประพันธ์ใช้วิธีนำเสนอแบบละครสลับกับการเล่าเรื่อง สถานที่ต่างๆ ในนวนิยายทำหน้าที่เป็นฉากละคร ผู้ประพันธ์นำเสนอมิติสถานที่เชิงสัญลักษณ์ด้วยตำนานและภาพพจน์สื่อความหมาย
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn Universtiy, 2002
Text in Frensh
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: French
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11839
ISBN: 9741711298
Type: Thesis
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Niparat.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.