Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11908
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorมานิตย์ นิธิธนากุล-
dc.contributor.authorพนิตา ลีวัจนกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี-
dc.date.accessioned2009-12-28T09:04:43Z-
dc.date.available2009-12-28T09:04:43Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11908-
dc.description.abstractในการศึกษาผลขององค์ประกอบต่ออสัณฐาน คุณสมบัติทางกายภาพ และคุณสมบัติเชิงกล ของพอลิเมอร์ผสมระหว่างไนล่อน 6 และพอลิเอทธิลีนชนิดความหนาแน่นต่ำทุกๆ องค์ประกอบ ทั้งชนิดที่ไม่ใช้ตัวเชื่อมประสาน และที่ใช้ตัวเชื่อมประสาน โดยมวลนั้น โดยในด้านคุณสมบัติเชิงกล ของพอลิเมอร์ผสมชนิดที่ไม่ได้ใช้ตัวเชื่อมประสานนั้น จะมีการลดลงของความแข็งแรงต่อการดึงและความแข็งแรงต่อการรับการกระแทกเนื่องจากการสูญเสียการยึดเกาะระหว่างพื้นผิว โดยในการเติมไอโอโนเมอร์ ได้แก่ เซอร์ลีน ซึ่งเป็นโคพอลิเมอร์ระหว่างพอลิเอทธิลีนชนิดความหนาแน่นต่ำและกรดเมธาไครลิก เป็นตัวเชื่อมประสานนั้นสามารถช่วยในการปรัปปรุงคุณสมบัติเชิงกลดีขึ้น เนื่องจากความสามารถในการส่งผ่านแรงผ่านระหว่างพื้นผิวดีขึ้น ส่วนคุณสมบัติทางด้านอสัณฐานของพอลิเมอร์ผสมระหว่างไนล่อน 6 และพอลิเอทธิลีนความหนาแน่นต่ำ ชนิดที่ใช้ตัวเชื่อมประสานนั้น ปริมาณของเซอร์ลีนที่เติมเข้าไปจะช่วยในการลดขนาดขององค์ประกอบที่กระจายตัวอยู่ในองค์ประกอบหลัก ปริมาณของเซอร์ที่เติมมากขึ้น จะยิ่งช่วยในการลดขนาดขององค์ประกอบที่กระจายตัว เนื่องจากปฏิกิริยาระหว่างส่วนที่มีประจุของไอโอโนเมอร์ และส่วนที่มีขั้วของไนล่อน 6 ซึ่งมีการลดลงของขนาดขององค์ประกอบที่กระจายตัว จะมีมากขึ้นเมื่อองค์ประกอบที่กระจายตัวเป็นไนล่อน 6en
dc.description.sponsorshipเงินอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2545en
dc.format.extent3456323 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโพลิเมอร์ผสมen
dc.subjectไอโอโนเมอร์en
dc.titleโครงการวิจัยเรื่อง การใช้คาร์บอกซิเลตไอโอโนเมอร์เป็นตัวช่วยผสมพอลิเมอร์ : รายงานฉบับสมบูรณ์en
dc.title.alternativeการใช้คาร์บอกซิเลตไอโอโนเมอร์เป็นตัวช่วยผสมพอลิเมอร์en
dc.title.alternativeCarboxylate Ionomer as blend compatibilizeren
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorManit.N@Chula.ac.th-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Petro - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
manit_carboxylate.pdf3.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.