Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12297
Title: A Comparative analysis of CDO pricing models
Other Titles: การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบของแบบจำลองการประเมินมูลค่าตราสารอนุพันธ์ความน่าเชื่อถือซีดีโอ
Authors: Kridsda Nimmanunta
Advisors: Anant Chiarawongse
Sunti Tirapat
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Commerce and Accountancy
Advisor's Email: anant@acc.chula.ac.th, Anant Chiarawongse
sunti@acc.chula.ac.th, Sunti.T@Chula.ac.th
Subjects: Collateralized debt obligations
Derivation securities
Credit -- Management
Risk management
Issue Date: 2006
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This study concerns pricing and risk measuring of Collateralized Debt Obligations (CDOs) by using a L'evy distribution/process. The paper provides a framework to price CDOs using an asymmetric depencence structure based on the Meixner distribution since it processes desirable properties such as fat-tail, skewness, and jump component. Moreover, it is relatively simple to implement comparing to other Levy processes. it is shown that the Meixner distribution can be applied to both copula and structural form approaches. Using the prices of CDOs on the CDX NA IG, the performances of the proposed models are examined and compared to those of standard models such as Gaussian copula model, double-t copula model, and correlated Brownian motion structural model. It is found that the Meixner-based models have the edge over the standard models in all cases in terms of the mean absolute pricing errors (MAPEs). Using the paired Z-test also confirms that the proposed models seem to outperform the standard ones. Additionally, the risk measures of the models are examined.
Other Abstract: ศึกษาการประเมินมูลค่าและการวัดความเสี่ยงของตราสารอนุพันธ์ความน่าเชื่อถือซีดีโอ โดยประยุกต์ใช้การกระจายและการดำเนินแบบเลวี รายงานฉบับนี้นำเสนอขั้นตอนการประเมินมูลค่า ซึ่งอาศัยการกระจายแบบไมคซ์เนอร์ ซึ่งเป็นกระจายเลวีชนิดหนึ่ง เพื่อสร้างโครงสร้างความเกี่ยวเนื่องแบบอสมมาตรด้วยเหตุผลที่ว่า การกระจายแบบไมคซ์เนอร์มีคุณสมบัติเหมาะสม กล่าวคือ มีความหนาของหางและมีการเบ้ของกระจาย และการดำเนินเป็นไปอย่างกระโดด ซึ่งสอดคล้องกับที่พบจริงในการกระจายของอัตราผลตอบแทน และการเปลี่ยนแปลงของมูลค่ากิจการ นอกจากนี้ยังง่ายต่อการนำไปใช้งานจริง เมื่อเทียบกับการกระจายแบบเลวีอื่นๆ ไมคซ์เนอร์สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้กับวิธีการแบบคอปูลา และวิธีการแบบโครงสร้างในการประเมินมูลค่าของซีดีโอ เมื่อนำข้อมูลการซื้อขายของซีดีโอมาจากตลาดอนุพันธ์ของสหรัฐฯ ซึ่งมีชื่อว่า CDX NA IG มาทดสอบ ประสิทธิภาพของแบบจำลองที่นำเสนอ โดยใช้ซีเทสต์แบบคู่เปรียบเทียบกับแบบจำลองมาตรฐาน อาทิ เช่น แบบจำลองเกาส์เซียนคอปูลา แบบจำลองดดับเบิลทีคอปูลา และแบบจำลองโครงสร้างบราวเนียนโมชันแบบสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่าแบบจำลองที่ใช้การกระจายแบบไมคซ์เนอร์ มีประสิทธิภาพในการประเมินมูลค่าซีดีโอมากกว่าแบบจำลองอื่นๆ เมื่อพิจารณาความผิดพลาดสัมบูรณ์เฉลี่ย นอกจากนี้มาตรวัดความเสี่ยงต่างๆ ยังถูกวิเคราะห์และแสดงอีกด้วย
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2006
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Finance
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12297
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1808
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2006.1808
Type: Thesis
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kridsda.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.