Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12328
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิศา ชูโต-
dc.contributor.authorเกษราพร คูวาเทพ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2010-03-25T03:46:33Z-
dc.date.available2010-03-25T03:46:33Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743315926-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12328-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en
dc.description.abstractสร้างและพัฒนาแบบสัมภาษณ์เพื่อคัดเลือกช่างเทคนิคอุตสาหกรรม โดยสร้างจากกรอบแนวคิดการวิเคราะห์เอกสาร และการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายบุคคลและฝ่ายหัวหน้าช่างเทคนิค ซึ่งครอบคลุมหลักเกณฑ์คุณสมบัติเฉพาะของช่างเทคนิค 7 คุณลักษณะ นำมาสร้างเป็นแบบสัมภาษณ์เพื่อวัดคุณลักษณะของช่าง 6 คุณลักษณะ และแบบสังเกตซึ่งวัดบุคลิกภาพภายนอก หลังจากนั้นนำเครื่องมือไปเก็บข้อมูลจริงกับผู้สมัครซึ่งสอบผ่านข้อเขียนของบริษัทที่เป็นกลุ่ม ตัวอย่าง คือ กลุ่มบริษัทมินีแบ บริษัทฟูจิตสึ (ประเทศไทย) จำกัด และบริษัทนิเดค อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด โดยแต่ละบริษัทมีกรรมการผู้สัมภาษณ์แห่งละ 2 คน รวม 6 คน มีผู้สมัครที่ผ่านเข้าสู่รอบของการสัมภาษณ์จำนวน 36 คน ผลการพัฒนาแบบสัมภาษณ์มีดังนี้ 1. องค์ประกอบของแบบสัมภาษณ์ ประกอบด้วย ก.) แบบสัมภาษณ์ สร้างขึ้นจากหลักเกณฑ์คุณสมบัติเฉพาะซึ่งวัดคุณลักษณะของช่าง 6 คุณลักษณะ คือ ความรับผิดชอบ มนุษยสัมพันธ์ ความอดทน แรงจูงใจในการทำงาน ความซื่อสัตย์ และความคิดสร้างสรรค์ แบบสัมภาษณ์มีข้อคำถามทั้งสิ้น 11 ข้อ และการให้คะแนนเป็นแบบมาตรประมาณค่า 3 ระดับ ข.) แบบสังเกตและวิเคราะห์สร้างขึ้นเพื่อวัดบุคลิกภาพภายนอกของช่างเทคนิค โดยสร้างเป็นรายการประเมินจำนวน 10 ข้อ และการให้คะแนนเป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ 2. คุณภาพของเครื่องมือ การวิเคราะห์ความตรงเชิงเนื้อหาได้จากค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญกับข้อคำถามสัมภาษณ์และการให้คะแนน มีค่าระหว่าง 0.64-1.00 การวิเคราะห์ความตรงตามสภาพได้จากค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เชิงอันดับระหว่างการให้คะแนนสัมภาษณ์ของกรรมการผู้สัมภาษณ์ (ตามสูตรของ Spearman) มีค่าอยู่ระหว่าง 0.72-0.96 และการวิเคราะห์ความเที่ยง โดยวิเคราะห์ความแปรปรวนของแบบสัมภาษณ์ มีค่าอยู่ระหว่าง 0.97-0.99 และแบบสังเกต มีค่าระหว่าง 0.98-0.99en
dc.description.abstractalternativeTo construct and to develop an interview form for industrial technicians selecting in the recruitment process. The frame work was established by mean of document analysis and interviewing with job specialists. Seven dimensions of industrial technician principle traits were derived. Six dimensions were reflected in the interview questions which one reflected in the observation form. Data was test to the 36 job applicants who passed the paper test of three organization groups namely : Minebea Group of Company or (NMB), Fujitsu (Thailand) Company or (FTC), Hidec Electronics (Thailand) Company or (NIDEC). The two interview selection committees of each company, total number of six persons applied this interview form. The conclusions of the study were as follow : 1. The composition of the interview form were composed of a). Interview schedule which demonstrated the specific characteristics of the industrial technicians such as : responsibility, human relationship, tolerances, work motivation, honesty and creativity. The interview schedule consisted of 11 questions with three rating scaling. b). Observation form devised according to the specific extrinsic personality. This observation form contained 10 items with five rating scaling. 2. The quality of the instruments as signified by content validity which was the values of index of consensus (IOC) between specialists' perception and interview questions ranging from 0.64-1.00. The concurrent validity as the Spearman rank-order coefficient which was the consistency between result of giving scores of the committees ranged from 0.72-0.96. And the reability (an analysis of variance) of the interview schedule was between 0.97-0.99 and for the observation form was between 0.98-0.99.en
dc.format.extent1010037 bytes-
dc.format.extent516814 bytes-
dc.format.extent3506638 bytes-
dc.format.extent2996779 bytes-
dc.format.extent1583030 bytes-
dc.format.extent680418 bytes-
dc.format.extent3903069 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectช่างเทคนิคอุตสาหกรรม -- การคัดเลือกและสรรหาen
dc.subjectการสัมภาษณ์en
dc.subjectการบริหารงานบุคคลen
dc.titleการพัฒนาแบบสัมภาษณ์เพื่อคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานสำหรับช่างเทคนิคอุตสาหกรรมen
dc.title.alternativeA development of an interview form for industrial technician recruitmenten
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNisa.X@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ketsaraporn_Ku_front.pdf986.36 kBAdobe PDFView/Open
Ketsaraporn_Ku_ch1.pdf504.7 kBAdobe PDFView/Open
Ketsaraporn_Ku_ch2.pdf3.42 MBAdobe PDFView/Open
Ketsaraporn_Ku_ch3.pdf2.93 MBAdobe PDFView/Open
Ketsaraporn_Ku_ch4.pdf1.55 MBAdobe PDFView/Open
Ketsaraporn_Ku_ch5.pdf664.47 kBAdobe PDFView/Open
Ketsaraporn_Ku_back.pdf3.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.