Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12567
Title: การศึกษาความเสถียรของสารประกอบเชิงซ้อน ระหว่างสารประกอบเปปไตด์กับไอออนของโลหะบางตัว : รายงานผลการวิจัย
Other Titles: ความเสถียรของสารประกอบเชิงซ้อน ระหว่างสารประกอบเปปไตด์กับไอออนของโลหะบางตัว
Stability of the complexes between peptide compounds and various metal ions
Authors: วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์
Email: Vithaya.R@Chula.ac.th
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: โปรตอน
สารประกอบเชิงซ้อน
สารประกอบเปปไตด์
ไอออนโลหะ
Issue Date: 2533
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาหาค่าคงที่ของการสมดุลระหว่างสะปีชีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจ่ายรับโปรตอนของสารประกอบเอ็นอะเซ็ตทิลแอลอะลานีน เอ็นอะเซ็ตทิลแอลฮีสติดีน เอ็นอะเซ็ตทิลแอลไลซีน และเอ็นอะเซ็ตทิลแอลวาลีน และค่าคงที่ของความเสถียรของสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างสารประกอบเอ็นอะเซ็ตทิลเปปไตด์ กับไอออนของโลหะต่างๆ ได้แก่ Mn(II) Co(II) Ni(II) Cu(II) และZn(II) ในสารละลาย 0.5 M KNO3 ที่อุณหภูมิ 25o C โดยวิธีโปเทนซิโอเมตริกไทเทรชัน พบว่าระบบของสารประกอบเอ็นอะเซ็ตทิลแอลอะลานีน มีค่า log Ka = -3.62 และสารประกอบเอ็นอะเซ็ตทิลแอลฮีสติดีนมีค่า log Ka = -7.19, log Kb = 2.96 และ log Kb = 2.47 สำหรับระบบสารประกอบเอ็นอะเซ็ตทิลแอลไลซีนมีค่า log Ka = -9.11 และ log Kb = 2.37 และเอ็นอะเซ็ตทิลแอลวาลีนมีค่า log Ka = -3.35 และ log Kb = 2.02 และพบว่าสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างสารประกอบเอ็นอะเซ็ตทิลแอลอะลานีน กับ Zn(II) และเอ็นอะเซ็ตทิลแอลฮีสติดีน กับ Cu(II) มีความเสถียรมากที่สุด การคำนวณทางเคมีควอนตัมโดยวิธีแอบอินิชิโอ พบว่าโปรตอนสามารถรวมตัวกับสารประกอบเอ็นอะเซ็ตทิลแอลอะลานีนได้สองตัว โดยมีพลังงานการรวมตัวของโปรตอนตัวแรกและตัวที่สองเท่ากับ -179.4 และ -90.7 kcal/mol ตามลำดับ
Other Abstract: Equilibrium constants for proton-related species of N-acetyl-l-alanine, N-acetyl-l-histidine, N-acetyl-l-lysine and N-acetyl-l-valine, and the complex formations of those ligands with divalent metal ion such as Mn(II) Co(II) Ni(II) Cu(II) and Zn(II) have been determined by means of the potentiometric titration. The experiments were observed in 0.5 M potassium nitrate solution, under the nitrogen atmosphere, at 25o C. The Equilibrium constants present as acidity and basicity constants and reported in term of logalithm value. The system of N-acetyl-l-alanine compound has resulted as log Ka = -3.62, N-acetyl-l-histidine as log Ka = -7.19, log Kb = 2.96 and log Kb = 2.47, N-acetyl-l-lysine as log Ka = -9.11, log Kb = 2.37 and N-acetyl-l-valine as log Ka = -3.35, log Kb = 2.02. Zn(II)/ N-acetyl-l-alanine and Cu(II)/ N-acetyl-l-histidine complexes are the most stable species. Quantum chemical calculations based on an ab-initio method result that N-acetyl-l-alanine can be protonated by two proton. For the first and second protonation energies are -179.4 and -90.7 kcal/mol respectively.
Description: สารประกอบเป็ปไตด์และสารประกอบเชิงซ้อน ; โครงสร้างของสารประกอบเอ็นอะเซ็ตทิลเป็ปไตด์ -- การคำนวณโดยวิธี ab initio LCAO-MO-SCF ; เงื่อนไขในการคำนวณทางเคมีควอนตัม ; Computer refinement -- ระบบของสารประกอบ N-acetyl-l-alanine ; potentiometric titration ; N-acetyl-l-alanine กับ ไอออนของโลหะต่างๆ -- ระบบสารประกอบ N-acetyl-l-lysine -- ระบบสารประกอบ N-acetyl-l-valine -- ไฮโดรไลซีสของไอออนโลหะ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12567
Type: Technical Report
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vithaya_Peptide.pdf4.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.