Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12607
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจิราภรณ์ ธนียวัน-
dc.contributor.authorไพเราะ ปิ่นพานิชการ-
dc.contributor.authorสุเทพ ธนียวัน-
dc.contributor.authorสุชาดา จันทร์ประทีป-
dc.contributor.authorวรรณา ตุลยธัญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-04-29T09:57:20Z-
dc.date.available2010-04-29T09:57:20Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12607-
dc.descriptionผู้ช่วยวิจัย: ธนัสถา เชียงอุทัย, ผกามาศ ราชมนตรี, อภิชญา เตชะวสัญญู, วศิตา วีรกุลen
dc.description.abstractการศึกษาการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพโดยยีสต์ Pichia anomala สายพันธุ์ PY1 ในอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีแหล่งคาร์บอนแตกต่างกัน 3 ชนิด คือ 4% กลูโคส 4%น้ำมันถั่วเหลือง และน้ำมันถั่วเหลืองร่วมกับกลูโคส พบว่ายีสต์สามารถผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในอาหารเหลวปรับปรุงสูตรที่ประกอบด้วย 0.02% KH2PO4, 0.02% MgSO4, 7H2O, 0.4% NaNO3, 0.3% สารสกัดยีสต์ 10.67% น้ำมันถั่วเหลือง และ 5.33% กลูโคส (อัตราส่วน 2:1) ควบคุมค่าความเป็นกรดด่างเริ่มต้นเท่ากับ 5.0 โดยมีภาวการณ์เลี้ยงเชื้อที่อุณหภูมิ 30 ํC ในระดับขวดเขย่าอัตราเร็ว 200 รอบต่อนาที เป็นเวลา 7 วัน โดยมีค่าแรงตึงผิวต่ำสุด 33 mN/m ค่าการกระจายน้ำมันเท่ากับ 75.39 cm2 และให้ผลผลิตเท่ากับ 0.95 g/l จากนั้นวิเคราะห์สารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่ผลิตได้โดยใช้ analytical TLC พบว่ามีส่วนประกอบ 3 ส่วนที่มีค่า Rfs เท่ากับ 0.88, 0.72 และ 0.62 (F1a-F3a) ตามลำดับ ซึ่ง F2a ให้ค่าการกระจายน้ำมันสูงสุดและถูกนำไปทำให้บริสุทธิ์อีกครั้งด้วย preparative TLC และ HPLC และตรวจผลแต่ละลำดับส่วนของตัวอย่างสารตำแหน่ง F2a จาก HPLC ที่มีค่ากระจายน้ำมันมากจะถูกวิเคราะห์ต่อไปด้วย LC-MS แสดงค่ามวลโมเลกุลของสารส่วนใหญ่มีค่าเท่ากับ 685, 725 และ 805 ซึ่งเทียบเคียงได้กับสารโซโฟโรลิพิดที่มีโครงสร้างที่มีกรดไขมันเป็นองค์ประกอบของ C22 ที่เป็น acidic และ lactonic form และเมื่อศึกษาลักษณะสมบัติทางชีวเคมีพบว่าสามารถทำงานได้ดี และมีความเสถียรที่ความเป็นกรดด่างเท่ากับ 2-9 มีความเสถียรต่ออุณหภูมิต่างๆ ได้จนถึงอุณหภูมิ 121 ํC และยังคงความเสถียรได้ดีในภาวะที่มีโซเดียมคลอไรด์เข้มข้น 0.5-5.0% นอกจากนี้ยังสามารถก่ออิมัลชันต่อน้ำมัน และสารประกอบไฮโดรคาร์บอนต่างๆ เช่น น้ำมันคาโนลา น้ำมันงา น้ำมันสลัด น้ำมันรำข้าว น้ำมันดอกคำฝอย น้ำมันถั่วเหลือง ไอโซโพรพิล ไมรีสเตท เฮกซาเดกเคน และเอทิล โอเลเอท เป็นต้น สารลดแรงตึงผิวชีวภาพมีค่าจุดวิกฤตของการเกิดไมเซลล์ (CMC) เท่ากับ 132 mg/l ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นสารที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าสารลดแรงตึงผิวสังเคราะห์ทางเคมีen
dc.description.abstractalternativeBiosurfactant production by pichia anomala strain PY1 was studied in three different media which contained glucose, soybean oil and mix with glucose as carbon source. The highest efficiency for biosurfactant production was found in modified medium consisting of 0.02% KH2PO4, 0.02% MgSO4, 7H2O, 0.4% NaNO3, 0.3% yeast extract, 10.67% soybean oil and 5.33% glucose with initial pH of 5.0. The cultivation was performed at 30 ํC in shaking flash at 200 rpm. After 7 days cultivation the biosurfactant produced possessed minimum surface tension of 33 mN/m, oil displacement activity of 75.39 cm2 and yield of 0.95 g/l. Analysis via analytical TLC showed 3 major peaks with Rfs of 0.88, 0.72 and 0.62 (F1a-F3a), respectively. Among this F2a gave the highest oil displacement activity and upon further purification by preparative thin layer and high performance liquid chromatography. A series of peaks belong to F2a were isolated with molecular masses of 685, 725 and 805 as indicated by their LC-MS spectrum correspond to sophorolipid compound containing fatty acid of C22 in acidic and lactonic form. The biochemical of the product obtained revealed that this biosurfactant has optimum pH and pH stability a t pH 2-9. The same product was stabilized to temperature up to 121 ํC and could tolerate NaCl at 0.5-5.05. In addition, it could form emulsion with oil and various hydrocarbons including canola oil, sesame oil, salad oil, rice bran oil, safflower oil, soybean oil, isopropyl myristate, n-hexadecane, and ethyl oleate etc. The critical micelle concentration (CMC) of 132 mg/l, which was indicated that it higher activity than synthetic surfactants.en
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2550en
dc.format.extent7302500 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสารลดแรงตึงผิวชีวภาพen
dc.subjectจุลินทรีย์อุตสาหกรรมen
dc.subjectอุตสาหกรรมอาหารen
dc.titleการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพจากจุลินทรีย์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร : รายงานการวิจัยen
dc.title.alternativeBiosurfactant production by microorganism for food industryen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorjiraporn.Th@chula.ac.th-
dc.email.authorPairoh.P@Chula.ac.th-
dc.email.authorSuthep.T@Chula.ac.th-
dc.email.authorSuchada.Cha@Chula.ac.th-
dc.email.authorVanna.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jiraporn_biosurf.pdf7.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.