Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12687
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ-
dc.contributor.authorหนึ่งนุช ปิยะอักษรศักดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2010-05-31T04:38:28Z-
dc.date.available2010-05-31T04:38:28Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12687-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคุณภาพการให้บริการของสายเรือกรณีศึกษา เพื่อเป็นแนวทางให้แก่ผู้ให้บริการขนส่งสินค้าทางทะเล นำมาปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการ เพื่อก่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ผู้ใช้บริการ และการนำมาซึ่งความได้เปรียบทางด้านการแข่งขัน โดยประเมินจากประสิทธิภาพการให้บริการของสายเรือจำนวน 3 สายเรือ (สายเรือกรณีศึกษา และสายเรือคู่แข่งจำนวน 2 สายเรือ) และปัจจัยที่ผู้ใช้บริการได้ให้ความสำคัญ รายละเอียดของการวัดคุณภาพการให้บริการ ได้แบ่งตามแผนกของสายเรือเป็น 6 แผนก ได้แก่ 1) แผนกการตลาด 2) แผนกเอกสาร 3) แผนกปฏิบัติการ 4) แผนกตู้สินค้า 5) แผนกเรียกร้องความเสียหาย 6) การบริการในด้านอื่นๆ ซึ่งขั้นตอนการศึกษามีทั้งหมด 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1)ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ ที่ผู้ใช้บริการให้ความสำคัญ 2) ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพการให้บริการที่สายเรือทั้ง 3 สายเรือ 3) ผลลัพธ์ต่างๆ มาแสดงเป็น Performance Evaluation Matrix เพื่อจะแสดงถึงประสิทธิภาพในการให้บริการของแต่ละสายเรือ 4) นำผลลัพธ์ต่างๆ มาทำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการให้บริการระหว่างสายเรือ โดยทำการแสดงโดย Competitive Position Matrix ผลของการศึกษาพบว่าปัจจัยการให้บริการที่สายเรือกรณีศึกษาต้องปรับปรุงมีทั้งหมด 8 ปัจจัยดังนี้ 1) พนักงานแผนกเรียกร้องความเสียหายมีความสามารถในแก้ไขปัญหา 2)ความเพียงพอของตู้เปล่าที่สายเรือเตรียมไว้ 3) พนักงานเผนกเรียกร้องความเสียหายมีการตอบสนองในการแก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็ว 4) คุณภาพของข้อมูลต่างๆที่ได้รับจากพนักงานการตลาด 5) ความมีอัธยาศัยในการให้บริการของพนักงานแผนกตู้สินค้า 6) ความรวดเร็วของพนักงานการตลาดในการปฏิบัติงาน 7) ความมีอัธยาศัยไมตรีในการให้บริการของพนักงานแผนกเอกสาร 8) ความสะดวกในการติดต่อสื่อสารทางโทรศัพท์ โทรสาร และอีเมล์ ซึ่งปัจจัยดังกล่าวมีความแตกต่างกันระหว่างสายเรือกรณีศึกษา และสายเรือคู่แข่งอย่างมีนัยสำคัญ ดังนั้นสายเรือกรณีศึกษาจึงควรปรับปรุงคุณภาพการบริการเพื่อให้ใกล้เคียงกับที่ผู้ใช้บริการคาดหวัง และนำมาซึ่งการได้เปรียบทางด้านการแข่งขันen
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims to study service quality of maritime transportation for Thailand-Japan route by examining liner A as a case study, liner B and liner C (liner A’s competitors). Results show a competitive position and guide identified areas of improvement for competitive advantage. The quality service of the three liners is studied through 1) Marketing Department 2) Document Department 3) Operation Department 4) Inventory Department 5) Legal and Claim Department 6) Others. There are 4 steps to complete this study as following: 1) The evaluation important attributes process by regular customer’s requirement in maritime transport services 2) The evaluation performance of liners (liner A, liner B and liner C) process by regular customer’s perceived 3) Creating A Performance Evaluation Matrix from the results 4) Creating A Competitive Position Matrix in order to compare performance of three liners. Results identify eight service factors which are needed to improve 1) professional of claim handling staff 2) Sufficiency of containers 3) Response time after received claim/complaint from customer 4) Quality of information from Marketing Department 5) Friendliness of staff (Inventory Department) 6) Quick response whenever getting request from customer 7) Friendliness of staff (Document Department) 8) Communication system (convenience of accessibility).The results show that there is a significant difference between level of service of each liner. Thus, liner A needs to improve eight service factors for meeting customer‘s requirement and getting competitive advantage.en
dc.format.extent3143191 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1241-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการขนส่งทางน้ำen
dc.titleการปรับปรุงคุณภาพในบริการขนส่งสินค้าทางทะเล กรณีศึกษาสายเรือคอนเทนเนอร์ เส้นทางไทย-ญี่ปุ่นen
dc.title.alternativeQuality improvement of maritime transportation : a case study of liners for Thailand-Japan routeen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKamonchanok.s@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1241-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nuengnuch.pdf3.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.