Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12693
Title: Extraction of phenolic compound from fruits of bitter melon (Momordica charantia) with subcritical water and antioxidant activities
Other Titles: การสกัดสารประกอบฟีนอลิกจากผลมะระขี้นกด้วยน้ำกึ่งวิกฤติและความสามารถในการต่อต้านอนุมูลอิสระ
Authors: Parichat Budrat
Advisors: Artiwan Shotipruk
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: artiwan.sh@chula.ac.th
Subjects: Phenols
Antioxidants
Momordica charantia
Issue Date: 2007
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Bitter melon (Momordica charantia) is traditionally known for its medicinal properties such as antidiabetic, anticancer, anti-inflammation, antivirus, and cholesterol lowering effects. It contains many phenolic compounds that may have the potential as antioxidant and antimutagen. Although the value of bitter melon is realized, scientific information on phenolic composition of bitter melon and antioxidant and antimutagenic activities of its extracts from food grade solvents are limited. This study were investigated the total phenolic contents of bitter melon obtained by subcritical water extraction (SCWE) and antioxidant activities of these extracts. The effects of extraction temperature and water flow rate were considered and the results were compared with the extracts obtained by solvent extraction and soxhlet extraction. The subcritical water extraction of the total phenolic contents in bitter melon was carried out at the temperature between 130 degrees Celsius to 200 degrees Celsius and the effect of water flow rate was investigated in the range of 2 to 5 ml/min, while the constant pressure of 10 MPa. The most suitable extraction condition was found to be at the temperature of 150-200 degrees Celsius and flow rate of 2 ml/min. The total phenolic contents of bitter melon obtained by the SCWE, the solvent extraction, and soxhlet extraction were 52.63, 6.00, and 6.68 mg gallic acid equivalents (GAE)/g dry weight (DW), respectively. Overall, the extract obtained by SCWE was significantly higher than solvent extraction and soxhlet extraction. The most phenolic acids contained in bitter melon were catechin. Catechin was calculated from HPLC analysis of the extracts from bitter melon obtained by the SCWE, the solvent extraction, and soxhlet extraction were 46.16, 1.61, and 1.77 mg/g DW, respectively. The subcritical water extraction at lower temperature gave higher antioxidant activity than the extracts obtained at higher temperature. The extract obtained by subcritical water extraction gave the higher antioxidant activity than solvent extraction, and soxhlet extraction. Even though the total phenolic contents between extraction method and extraction temperature were significantly different, their different antioxidant activities indicated that antioxidant activity was not depended only by their total phenolic contents. Thus, bitter melon is a good source of phenolic compounds and has high potent antioxidant activity.
Other Abstract: มะระขี้นกเป็นที่รู้กันดีว่ามีคุณสมบัติทางการยามากมาย เช่น ต้านโรคเบาหวาน, ต้านมะเร็ง, ลดการอักเสบ, ต้านเชื้อไวรัส, และลดไขมันในเส้นเลือด เป็นต้น ในมะระขี้นกจะประกอบไปด้วยสารประกอบฟีนอลิกต่างๆ ซึ่งมันมีคุณสมบัติในการต่อต้านอนุมูลอิสระ และต่อต้านการกลายพันธุของ DNA ถึงแม้ว่าเราจะตระหนักถึงคุณประโยชน์ต่างๆของมะระขี้นก แต่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสารประกอบฟีนอลิกจากมะระขี้นกและคุณสมบัติในการต่อต้านอนุมูลอิสระ และต่อต้านการกลายพันธุของ DNA ของสารสกัดที่ได้จากมะระขี้นกก็ยังคงมีจำกัด ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงศึกษาถึงปริมาณสารประกอบฟีนอลิกที่อยู่ในมะระขี้นกโดยวิธีการสกัดแบบน้ำกึ่งวิกฤติและการต่อต้านอนุมูลอิสระของสารสกัด โดยพิจารณาถึงผลกระทบของอุณหภูมิและอัตราการไหลของน้ำที่ใช้ในการสกัด และเปรียบเทียบกับสารสกัดที่ได้จากวิธีการใช้ตัวทำละลายและวิธีซอคเลท การสกัดปริมาณสารประกอบฟีนอลิกที่อยู่ในมะระขี้นกโดยวิธีการสกัดแบบน้ำกึ่งวิกฤติจะสกัดที่อุณหภูมิ 130 - 200 องศาเซลเซียส และอัตราการไหลของน้ำที่ 2-5 มิลลิลิตรต่อนาที โดยใช้ความดันคงที่ 10 เมกกะปาสคาล โดยสภาวะที่ดีที่สุดในการสกัดคือที่ อุณหภูมิ 150-200 องศาเซลเซียส และอัตราการไหลของน้ำ 2 มิลลิลิตรต่อนาที ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกในมะระขี้นกที่สกัดโดยวิธีน้ำกึ่งวิกฤติ วิธีการใช้ตัวทำละลายและวิธีซอคเลท คือ 52.63 6.00 และ 6.68 มิลลิกรัมแกลลิกต่อกรัมน้ำหนักแห้ง ตามลำดับ โดยรวมแล้ววิธีน้ำกึ่งวิกฤติจะให้ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกที่สูงกว่าวิธีใช้ตัวทำละลายและวิธีซอคเลท สารประกอบฟีนอลิกที่มีมากที่สุดในมะระขี้นกคือ คาเทชิน ซึ่งในวิธีน้ำกึ่งวิกฤติ วิธีการใช้ตัวทำละลายและวิธีซอคเลท มีปริมาณคาเทชินอยู่ 46.16 1.61 และ 1.77 มิลลิกรัมต่อกรัมน้ำหนักแห้ง ตามลำดับ ในการสกัดโดยวิธีน้ำกึ่งวิกฤติที่อุณหภูมิต่ำจะให้คุณสมบัติการต่อต้านอนุมูลอิสระที่สูงกว่าอุณหภูมิสูง และสูงกว่าวิธีการใช้ตัวทำละลายและวิธีซอคเลท ถึงแม้ว่าที่อุณหภูมิและวิธีการสกัดที่ต่างกันปริมาณสารประกอบฟีนอลิกและคุณสมบัติการต่อต้านอนุมูลอิสระจะมีความแตกต่างไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งผลแสดงให้เห็นว่าการต่อต้านอนุมูลอิสระไม่ขึ้นกับปริมาณสารประกอบฟีนอลิกเพียงอย่างเดียว ดังนั้นสรุปได้ว่ามะระขี้นกเป็นแหล่งที่ดีของสารประกอบฟีนอลิกและมีคุณสมบัติสูงในการต่อต้านอนุมูลอิสระ
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2007
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12693
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.2033
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2007.2033
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Parichat_bu.pdf1.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.