Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13086
Title: | การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและสังคมของไทย : พิจารณาจากมุมมองตามแนวทางไดอาเลคติก |
Other Titles: | Political and social change in Thailand from a dialectical perspective |
Authors: | ทศพร กสิกรรม |
Email: | ไม่มีข้อมูล |
Other author: | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ |
Subjects: | ไทย -- การเมืองและการปกครอง ไทย -- ภาวะสังคม |
Issue Date: | 2541 |
Publisher: | คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Citation: | วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 27,2(ก.ค.-ธ.ค. 2541),23-42 |
Abstract: | ในช่วงเวลากล่า 700 ปี ของประวัติศาสตร์สังคมและการเมืองไทย ได้มีความเปลี่ยนแปลงในหลายรูปแบบเกิดขึ้น บทความนี้เป็นความพยายามที่จะใช้ “กระบวนการไดอาเลคติก” เป็นกรอบในการพิจารณาและทำความเข้าใจกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั้น โดยเฉพาะในช่วงที่ไทยต้องเผชิญกับการคุกคามอย่างรุนแรงที่สุดจากมหาอำนาจตะวันตกซึ่งเป็นปัจจัยภายใน ในช่วงระหว่างรัชกาลที่ 4 ถึงรัชกาลที่ 7 จากการศึกษาประวัติวรรณคดีเยอรมัน ปรากฏว่า มีอยู่บ่อยครั้งที่วรรณกรรมในต่างยุคต่างสมัยกันหลายฉบับมีแก่นเรื่องอย่างเดียวกัน ทั้งนี้เป็นเพราะผู้ประพันธ์มีความสนใจในปัญหาบางประการร่วมกัน, งานร้อยแก้วสามเรื่องที่ทำการศึกษาในเชิงวิจารณ์และเปรียบเทียบต่อไปนี้มีแก่นเรื่องคล้ายกัน กล่าวคือ เป็นปัญหาของปัจเจกชนที่โดยธรรมชาติเป็นผู้รักความสงบ ต้องการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างปกติสุข แต่สังคมส่วนหนึ่งกลับปฏิบัติต่อเขาอย่างมีอคติ ซึ่งกลายเป็นความ อยุติธรรม และทำให้เขาต้องกลายเป็นอาชญากรไปด้วยความจำเป็น เนื่องจากตัวละครบางตัวและเหตุการณ์ในเรื่องบางเหตุการณ์เป็นสิ่งที่ผู้ประพันธ์ได้รับแรงจูงใจจากตัวละครและเหตุการณ์ที่เคยมีชีวิตอยู่จริงและเกิดขึ้นจริง ฉะนั้นการศึกษางานร้อยแก้วดังกล่าวจึงเสมือนหนึ่งเป็นการศึกษาข้อเท็จจริงบางประการในประวัติศาสตร์ของเหตุการณ์จริงด้วย งานวิทยานิพนธ์นี้ประกอบด้วยบทใหญ่ 3 บท ในบทแรกเป็นบทนำ กล่าวถึงความเป็นมาของงานร้อยแก้วทั้งสามเรื่องที่จะทำการศึกษา ในเชิงภูมิหลังและสมัยวรรณคดี ความสัมพันธ์ของผู้ประพันธ์กับเหตุการณ์จริง ซึ่งทั้งนี้จะได้กล่าวแต่โดยสังเขป เพราะหัวข้อดังกล่าวสามารถศึกษาได้จากหนังสือเล่มอื่นๆ ซึ่งได้ทำการศึกษาวิจัยไว้มากแล้ว ในบทที่สอง ว่าด้วยการศึกษาเชิงวิเคราะห์วิจารณ์วรรณกรรมแต่ละฉบับตามแนวหัวข้อย่อย 3 หัวข้อ คือ ก.ตัวเอกของเรื่อง กล่าวถึง ลำดับความเป็นไปจนเป็นอาชญากร แรงจูงใจในการประกอบอาชญากรรม ความรับผิดชองและโทษที่ได้รับจากการกระทำนั้น ข. “ผู้ร้ายของเรื่อง” (หมายถึงตัวละครอื่นในเรื่อง ซึ่งอาจเป็นปัจเจกชนหรือตัวแทนของสถาบันในสังคมนั้น ที่ทำตนเป็นศัตรูกับตัวเอกของเรื่อง หรือเป็นผู้มีส่วนผลักดันในทั้งทางตรงและทางอ้อมให้ตัวเอกของเรื่องนั้นต้องประกอบอาชญากรรม) กล่าวถึงลักษณะความสัมพันธ์ที่มีต่อตัวเอก แรงจูงใจให้มีความสัมพันธ์เช่นนั้น และความรับผิดชอบที่จะต้องมีต่อความประพฤติเช่นนั้น และ ค. ข้อวิจารณ์และความเห็นส่วนตัวตามลักษณะโลกทัศน์ของผู้ประพันธ์ ที่ปรากฏในรูปแบบการนำเสนอและทางภาษาในบทที่สาม ซึ่งเป็นบทสุดท้าย เป็นการศึกษาเชิงเปรียบเทียบวรรณกรรมทั้งสามเรื่องตามแนวที่ได้ทำการศึกษามาแล้วในบทที่สอง โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะชี้ให้เห็นว่า ข้อแตกต่างที่มีอยู่นั้นเป็นด้วยอิทธิพลแวดล้อมต่างๆทั้งทางสังคมและวุฒิปัญญา ตลอดจนรูปแบบของวรรณคดีในสมัยนั้นๆ |
Other Abstract: | During the last 700 years of the political history of Thailand, various forms of change took place. This article is an attempt to explain these changes within the theoretical frameworks described in Friedrich Engles “dialectical process”, especially those changes which occurred when traditional Thailand encountered severe, even violent threats from expansionistic Western Powers and from revolutionary young this from the reign of King Rama IV to the reign of King Rama VII. Die Literaturgeschichte ha t eine Tatsache deutlich herausgestellt, namlich daβ ein gesellschaftlich bedeutsames Thema in unterschiedlichen Literaturepochen wiedererscheinen kann. Eines dieser Themen ist die Behandlung von Krirninalitat als Reaktion auf bestimmte gesellschaftliche Zwänge oder Bedingungen. Die drei zu vergleichende:n Erzählungen handeln von einem Menschen, der eigene Probleme zu lösen hat, dem sich aber die Umwelt so entgegenstellt, daβ er sich verteidigen muβ. Er wird zum Verbrecher und büβt für seine Schuld. Die Handlung und die Motivation zur Gewalttat in den drei Erzählungen sind verwandt. De sie aber aus verschiedenen Literatureposhen stamen, die durch verschiedene geistige Bewegungen und gesellschaftliche Verhältnisse und Probleme charakterisiert sind, sind die Art und Weise der Darstellung von Gedanken, Gestalten und Problemen und deren Ursaehen unterschiedlich. Die folgenae kritische und vcrgleichende Behadlung soll dazu dienen, folgende Fragen zu beantworten. Nämlich: Wie wird der Werdegang eines Verbrechers in verschiedenen Literaturepochen dargestellt? Welche Ursachen machen die dre i Autoren dafür verantwortlich, daβ jamand zwn Gewaltverbrecher wird? Und damit engverbunden die Frage der Schuld. Un diesea Ziel zu erreichen, baut der Verfasser die Arbeit folgendermaβen auf: Im einleitenden Kapitel wird ein Überblick au f die drei Erzählungen im Zusamenhang mit der Entstehungsgeschichte und dem Verhältnis des Autors zu Quellen gemacht. Im zweiten Kapitel warden die drei Erzählungen getrennt und nach wichtigen Punkten, die für den kommenden Vergleich wertvoll sind, kritisch bearbeitet und dargéstellt. Die genaue Untersuchung jeder Erzählung umfaβt drei Hauptpunkte, nämlich die Hauptgestalt, ihre ‘Gegenwelt’ (gemeint sind andere Gestalten, von denen oder durch deren Miβhandlung die Hauptgestalt teilweise zwanghaft zum Verbrecher getrieben wird) und die Wertung des Autors durch erzähltechnische und stilistische Mittel, Im dritten Kapitel, dern Schluβteil, werden die Erzählungen zusammenfassend verglichen. |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13086 |
ISSN: | 0125-4820 |
Type: | Article |
Appears in Collections: | Arts - Journal Articles |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tosaporn_Politic.pdf | 2.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.