Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13200
Title: Business process reengineering of a paint factory to reduce delivery lead time
Other Titles: การปรับโครงสร้างกระบวนการทางธุรกิจของโรงงานผลิตสีเพื่อลดเวลาในการจัดส่งสินค้า
Authors: Chaow Limpiwattakee
Advisors: Paveena Chaovalitwongse
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: paveena.c@chula.ac.th
Subjects: Reengineering (Management)
Paint industry and trade
Delivery of goods
Issue Date: 2006
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: To reengineer business process of a paint factory to reduce delivery lead time of order-to-delivery process. Since the delivery lead time of current process is longer than the industry standard, the company has lost the competitive advantage in the paint industry. Therefore, business process reengineering (BPR) is used to improve the efficiency and reduce non-value added activities or Muda (wastes) in the current order-to-delivery process. The practical BPR framework and BPR theories are applied to use in this thesis. In this thesis, the BPR framework can be divided into seven steps, which are 1) Company and literature study, 2) Understanding the project, 3) Initiating the project, 4) Programming the project, 5) Transforming the project, 6) Implementing the project, and 7) Evaluating the project. The company business environment is analyzed by SWOT, PEST, and Porter's 5 forces. Then, all related people are made understand the project. Next, the project objectives and reengineering team is set. Then, the current or as-is process is analyzed to find the root causes of the problem in each sub-process. There are six sub-processes, which are orders capture, sales orders processing, customer credit exposure management, inventory availability checking, planning and delivering management, and transportation management. The problems are divided into 4 categories, which are process, policy, system, and people. Next, recommendations to solve those problems are proposed and assigned priority for implementing, while to-be process is designed by applying those recommendations. Then, the implementation plan is created for each responsible party. Finally, the comparisons on results between before and after implement are used to evaluate the project. As results, the project is quite successfully implemented. All of the comparison results of new process are better than the old process. Non value-added activities are reduced about 24%, delivery lead time is reduce about 48%, number of rejected orders are reduce about 51%, number of complaints on delay delivery are reduced from 33.38% to 11.64%, number of complaints on incorrect product/quantity and incorrect documents are reduced from 10.2% to 5%, and operations efficiency related costs are reduced 15%.
Other Abstract: ลดเวลาในการจัดส่งให้แก่ลูกค้าในประเภทธุรกิจสี เนื่องจากในกระบวนการปัจจุบัน ระยะเวลาในการจัดส่งสินค้าของบริษัทมีระยะเวลานานกว่าค่าเฉลี่ยในธุรกิจประเภทเดียวกัน ซึ่งทำให้บริษัทสูญเสียความได้เปรียบในการแข่งขัน ดังนั้นการปรับโครงสร้างธุรกิจ (Business process reengineering) จึงถูกนำมาใช้เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ และลดการกระทำที่ไม่ก่อให้เกิดคุณค่าหรือไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ (Waste) จากกระบวนการสั่งและส่งสินค้าในปัจจุบัน ซึ่งในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ โครงร่างของการปรับโครงสร้างทางธุรกิจที่ได้ผลจริง และหลักวิชาการในการปรับโครงสร้างทางธุรกิจต่างๆ จะถูกนำมาประยุกต์ใช้ ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้โครงร่างของการปรับโครงสร้างทางธุรกิจจะมีทั้งหมด 7 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การศึกษาบริษัท และสิ่งตีพิมพ์ต่างๆ 2) การเข้าใจโครงการ 3) การเริ่มต้นโครงการ 4) การศึกษาและวิเคราะห์กระบวนการปัจจุบันของโครงการ 5) การเปลี่ยนแปลงกระบวนการในโครงการ 6) การลงมือทำโครงการ และ 7) การประเมินผลของโครงการ โดยเริ่มตั้งแต่การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจของบริษัท โดยใช้ SWOT, PEST, และ Porter's 5 forces จากนั้นบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกคนต้องเข้าใจในโครงการที่จะทำ หลังจากที่เข้าใจโครงการแล้วจะต้องมีการตั้งทีมในการปรับโครงสร้างทางธุรกิจ และตั้งวัตถุประสงค์ของโครงการ จากนั้นกระบวนการปัจจุบัน (As-is process) จะถูกนำมาวิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาในแต่ละกระบวนการย่อย โดยปัญหาจะถูกแบ่งออกเป็น 4 หมวด ได้แก่ กระบวนการ นโยบาย ระบบ และคน กระบวนการย่อยในโครงการนี้มีทั้งหมด 6 กระบวนการ ได้แก่ การรับใบสั่งซื้อสินค้า การดำเนินการใบสั่งซื้อสินค้า การจัดการสินเชื่อของลูกค้า การตรวจสอบสินค้าคงคลัง การจัดการและวางแผนในการส่งสินค้า และการจัดการการขนส่ง จากนั้น คำแนะนำต่างๆ ที่ใช้ในการแก้ปัญหาเหล่านั้นก็จะถูกนำเสนอและถูกกำหนดความสำคัญ เพื่อใช้ตัดสินใจในการลงมือทำโครงการ ในขณะเดียวกัน กระบวนการทำงานใหม่ (To-be process) ก็จะถูกออกแบบโดยนำข้อเสนอแนะเหล่านั้นมาประยุกต์ใช้ ต่อจากนั้นแผนการในการทำโครงการก็จะถูกทำขึ้นมา ให้แก่แต่ละฝ่ายที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการทำโครงการ สุดท้ายผลลัพธ์ระหว่าง กระบวนการปัจจุบันและกระบวนการทำงานใหม่ ก็จะถูกนำมาเปรียบเทียบเพื่อประเมินผลของโครงการ จากผลลัพธ์ที่ได้แสดงให้เห็นว่าโครงการที่ทำไปนั้นค่อนข้างที่จะประสบความสำเร็จ เนื่องจากผลลัพธ์ต่างๆ ของการใช้กระบวนการทำงานใหม่นั้นดีกว่ากระบวนการทำงานแบบเก่า ดังนี้ การกระทำที่ไม่เกิดคุณค่าถูกลดลง 24% เวลาในการส่งสินค้าลดลง 48% จำนวนสินค้าที่ถูกปฏิเสธลดลง 51% จำนวนคำร้องจากลูกค้าเกี่ยวกับการส่งสินค้าช้าลดลงจาก 33.38% เป็น 11.64% จำนวนคำร้องจากลูกค้าเกี่ยวกับการส่งสินค้าผิด จำนวนผิด และเอกสารผิด ลดลงจาก 10.25% เป็น 5% ในส่วนของต้นทุนรวมของการทำ Logistics นั้น ถึงแม้ว่าต้นทุนรวมนั้นจะสูงขึ้น แต่ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพในการทำงาน เช่น ค่าล่วงเวลา ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด เช่น ค่ากระดาษ ค่า Sticker tag ค่าของใช้ต่างๆ ในคลังสินค้า ลดลง 15%
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2006
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Engineering Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13200
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1524
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2006.1524
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chaow.pdf4.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.