Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13272
Title: | การพัฒนาเทคนิคการตรวจวัดและอุปกรณ์ปฏิบัติการบนชิพสำหรับตรวจวัดสารตกค้าง ประเภทยาปฏิชีวนะและโลหะปนเปื้อนในอาหาร : รายงานการวิจัย |
Other Titles: | Method and lab on a chip development for the antibacterial and metal determination in food |
Authors: | อรวรรณ ชัยลภากุล นาตยา งามโรจนวณิชย์ ธรรมนูญ หนูจักร นงนุช เหมืองสิน ลักษณา ลิ่มสวรรค์ |
Email: | Orawon.C@Chula.ac.th Nattaya.N@Chula.ac.th Thumnoon.N@Chula.ac.th Nongnuj.J@Chula.ac.th Luxsana.L@Chula.ac.th |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
Subjects: | อาหาร -- การเจือปนและการตรวจสอบ ไฮเปอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิดโครมาโตกราฟี เคมีไฟฟ้า ซัลโฟนาไมด์ |
Issue Date: | 2550 |
Publisher: | ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | งานวิจัยนี้ใช้เทคนิคไฮเพอร์ฟอร์มานซ์ลิควิดโครมาโทกราฟีร่วมกับการตรวจวัดทางเคมีไฟฟ้า ด้วยวิธีแอมเพอโรเมทรีเพื่อตรวจวัดซัลโฟนาไมด์ 7 ชนิด (sulfaguanidine (SG), sulfadiazine (SDZ), sulfamethazine (SMZ), sulfamethoxazole (SMX), sulfadimethoxine (SDM), sulfaquinoxaline (SQ), sulfaguanidine (SG), และ sulfamethazine (SMM)) โดยใช้ขั้วไฟฟ้าเพชรที่โดปด้วยโบรอน คอลัมน์ที่เลือกใช้เทคนิคเทคนิคไฮเพอร์ฟอร์มานซ์ลิควิดโครมาโทกราฟีคือ โมโนลิตริกคอลัมน์ C[subscript 18] ซึ่งคอลัมน์ชนิดนี้มีข้อดีหลายประการดังนี้ ความดันต้านกลับของคอลัมน์ต่ำ แยกสารที่วิเคราะห์ได้เร็วและมีประสิทธิภาพการแยกสารสูงเมื่อเทียบกับแพคคอลัมน์ ในงานวิจัยนี้ใช้เฟสเคลื่อนที่ในอัตราส่วนของสารละลายฟอสเฟต (0.05 โมลาร์, พีเอช 3) : อะซีโตนไนไตรด์ : เอทานอล (80: 15: 5; v/v/v) อัตราไหลเท่ากับ 1.5 มิลลิเมตรต่อนาที จากการศึกษาด้วยเทคนิคไฮโดรไดนามิกโวลแทมเมตรี ค่าศักย์ไฟฟ้าที่เหมาะสมสำหรับการตรวจวัดคือ 1.2 โวลต์เทียบกับ ขั้วไฟฟ้าซิลเวอร์-ซิวเวอร์คลอไรด์ เทคนิคการตรวจวัดนี้ให้ช่วงความเข้มข้นของซัลโฟนาไมด์ที่เป็นเส้นตรงระหว่าง 0.01 ถึง 120 ส่วนในล้านส่วน และช่วงความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถตรวจวัดได้ของซัลโฟนาไมด์ 0.0012 ถึ. 0.0033 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งวิธีการวิเคราะห์ที่ได้นี้สามารถประยุกต์หาปริมาณซัลโฟนาไมด์ในกุ้ง ได้ร้อยละการคืนกลับ 82.7 ถึง 92.8 ที่ระดับความเข้มข้น 5 ส่วนในล้านส่วน |
Other Abstract: | High-performance liquid chromatography (HPLC) coupled with amperometric detector has been used for the determination of seven sulfonamides (sulfaguanidine (SG), sulfadiazine (SDZ), sulfamethazine (SMZ), sulfamethoxazole (SMX), sulfadimethoxine (SDM), sulfaquinoxaline (SQ), and sulfamethazine (SMM)) at the boron doped diamond (BDD) electrode. Monolithic column was used to separate sulfonamides. There are several advantages, such as low back pressure, fast separation, and high efficiency separation when compared to pack column. In this work, the analyses were carried out using the phosphate buffer as mobile phase (0.05 M, pH 3) : acetonitrile: methanol (80: 15: 5; v/v/v) with a flow rate of 1.5 mL min[superscript -1]. The optimum potential using hydrodynamic voltammogram was found to be 1.2 V versus Ag/AgCl. The linear dynamic range for sulfonamides concentration from 0.01 to 100 ppm and detection limit from 0.0012 to 0.0033 ppm were obtained. The proposed method was also applied to the determination of sulfonamides in shrimp. Recoveries of analytes in spiked shrimp samples were in the range from 82.7 to 92.8% at 5 ppm. |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13272 |
Type: | Technical Report |
Appears in Collections: | Sci - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Orawan_Chip.pdf | 3.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.