Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13809
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorลัดดา แก้วฤทธิเดช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-10-30T08:30:52Z-
dc.date.available2010-10-30T08:30:52Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.citationวารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 33,2(ก.ค.-ธ.ค. 2547),232-250en
dc.identifier.issn0125-4820-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13809-
dc.description.abstractบทความนี้ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบความเป็นโจรในวรรณคดีรวมนิทานพื้นบ้านสมัยเฮอัน Konjakumonogatarishuu ที่มีโจรเป็นอนุภาคสำคัญของเรื่อง 2 เรื่อง ได้แก่ เรื่องที่ 18 เรื่องของโจรที่ขึ้นไปบนชั้นสองของประตูราโชมอน ได้พบเห็นศพคนตาย และเรื่องที่ 19 โจรฮะคะมะดะเระออกอุบายแกล้งทำเป็นตายแล้วฆ่าคนที่ด่านเซะกิยะมะ ทั้งนี้ โจรในนิทานทั้งสองเรื่องต่างมีลักษณะร่วมที่เหมือนและในขณะเดียวกันก็แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด “โจร” เป็นตัวละครหนึ่งและอนุภาคสำคัญอนุภาคหนึ่งที่ช่วยสร้างสีสันให้แก่วรรณคดีประเภทนิทานพื้นบ้านในสมัยเฮอัน ให้ข้อคิดเกี่ยวกับมนุษย์และคติอันเป็นแนวทางในการดำรงชีวิตแก่ผู้คนในสังคม อีกทั้งสะท้อนภาพความเป็นอยู่ของชาวบ้านสามัญชนทั่วไปที่ต้องดิ้นรนเพื่อความอยู่รอดและความมั่นคงในชีวิต อันเป็นประเด็นสำคัญที่ทำให้วรรณคดีประเภทนิทานพื้นบ้านเล่มนี้แตกต่างไปจากวรรณคดีในยุคสมัยเฮอันตอนต้น ที่ส่วนใหญ่มักให้ภาพลักษณ์ชีวิตในราชสำนักอันรุ่งโรจน์และเปี่ยมไปด้วยสุนทรียภาพของชนชั้นผู้ปกครองen
dc.description.abstractalternativeAmong the stories told in Konjakumonogatarishu, a collection of Japanese folktales of the Heian Period, there are two with a ‘thief’ as a main character, namely the ‘Rashomon’ thief in tale number 18 and the thief Hakumadera in tale number 19. This essay attempts a comparative analysis of these two thief characters and the role of the ‘thief’ character in Heian folktales.en
dc.format.extent1494314 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโจรผู้ร้ายในวรรณคดีen
dc.subjectนิทานพื้นเมืองญี่ปุ่นen
dc.title"Oihagi" โจรในวรรณคดีรวมนิทานพื้นบ้านสมัยเฮอัน : วิเคราะห์เปรียบเทียบโจรในราโชมอนกับโจรฮะคะมะดะเระen
dc.title.alternativeThe ‘Oihagi’ thief in Konjakumonogatarishuu : a comparative study of the characters of the thief in ‘Rashomon’ and the thief Hakamadareen
dc.typeArticlees
dc.email.authorLadda.Ka@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Arts - Journal Articles

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ladda_Oihagi.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.