Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13969
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPaitoon Kraipornsak-
dc.contributor.authorAdun Mohara-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Economics-
dc.coverage.spatialThailand-
dc.date.accessioned2010-11-26T02:02:50Z-
dc.date.available2010-11-26T02:02:50Z-
dc.date.issued2005-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13969-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2005en
dc.description.abstractTo construct and estimate the cost function of Thailand Food and Drug Administration, as a tool for providing the direction with respect to the efficient allocation of resources in budget planning. This study classified cost function into three functional groups, including pre-marketing system, post-marketing system and the other system. The explanatory variables required to estimate the cost functions, included the input prices, output volumes and dummy variables which represented as reforms. Time series data was collected during 1980-2005 of the fiscal year. This study used the econometrics tool to estimate the translog cost function model in term of cost share equation. In addition, Seemingly Unrelated Regression Estimation (SURE) method was used to estimate the system equation This study demonstrates the way for analysis of cost function. The empirical results found that the cost function of pre-marketing system, post-marketing system and the other system demonstrated the goodness of fit as 77% 88% and 78%, respectively which were represented by the statistical R [superscript 2] values. In addition, this study found that the product registration approval in pre-marketing system affected to increase the cost share of labor factor, moreover, the manufacturing and product inspection in post-marketing system affected to rise in cost share of capital factors. These results bring to an important issue of more efficient resource allocation. Thai FDA should allocate resources by supporting more capital inputs to the post-marketing system. At the same time, Thai FDA ought to shift the labor inputs from such systems to the product registration in pre-marketing system by using appropriate proportion. This can maximize the utilization of limited resources, and increase the whole outputs of Thai FDA.en
dc.description.abstractalternativeสร้างและวิเคราะห์สมการต้นทุนของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาประเทศไทย เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการหาแนวทางการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการวางแผนงบประมาณขององค์กรในการศึกษาครั้งนี้ได้แยกประเภทของสมการต้นทุนเป็น 3 กลุ่มตามบทบาทหน้าที่ของสำนักงานฯ ประกอบด้วย ระบบงานควบคุมผลิตภัณฑ์ก่อนออกสู่ท้องตลาด ระบบงานควบคุมผลิตภัณฑ์หลังออกสู่ท้องตลาด และระบบงานอื่นๆ ส่วนตัวแปรอิสระที่ใช้ในการวิเคราะห์สมการต้นทุน ประกอบด้วย ราคาของปัจจัยการผลิต และปริมาณผลงาน นอกจากนี้เหตุการณ์การปฏิรูปองค์กรได้ถูกกำหนดให้เป็นตัวแปรเชิงหุ่นในการวิเคราะห์ โดยใช้ข้อมูลอนุกรมเวลาในระหว่างปีงบประมาณ 2523-2548 ในการศึกษานี้ได้ใช้เครื่องมือทางเศรษฐมิติในการประมาณค่าแบบจำลองสมการต้นทุนแบบทรานสลอก (Translog model) ในรูปแบบสมการส่วนแบ่งต้นทุน (cost share equation) และประมาณค่าโดยวิธี Seemingly unrelated regression estimation (SURE) ซึ่งเป็นวิธีการที่เหมาะสมสำหรับการวิเคราะห์ระบบสมการ ในการศึกษาครั้งนี้ได้แสดงถึงวิธีการในการวิเคราะห์สมการต้นทุน ซึ่งผลการศึกษาพบว่า สมการต้นทุนของ ระบบงานควบคุมผลิตภัณฑ์ก่อนออกสู่ท้องตลาด ระบบงานควบคุมผลิตภัณฑ์หลังออกสู่ท้องตลาด และระบบงานสนับสนุนอื่นๆ ให้ค่าทางสถิติ R [superscript 2] (the goodness of fitted) เป็น 77%, 88% และ 78% ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่า การขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์ ของระบบงานควบคุมผลิตภัณฑ์ก่อนออกสู่ท้องตลาด จะมีผลต่อส่วนแบ่งต้นทุนของปัจจัยแรงงานเพิ่มขึ้น ในขณะที่การตรวจสอบสถานที่ผลิต และการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ ของระบบงานควบคุมผลิตภัณฑ์หลังออกสู่ท้องตลาด จะมีผลต่อส่วนแบ่งต้นทุนของปัจจัยทุนเพิ่มขึ้น จากผลการวิจัยดังกล่าวสามารถนำไปสู่ประเด็นสำคัญอย่างหนึ่งในด้านการจัดสรรทรัพยากรปัจจัยการผลิตให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นได้คือ สำนักงานฯอาจจะจะจัดสรรทรัพยากร โดยสนับสนุนปัจจัยทุนในระบบงานควบคุมผลิตภัณฑ์หลังออกสู่ท้องตลาดให้มากขึ้น ในขณะเดียวกันควรย้ายปัจจัยแรงงานจากระบบงานดังกล่าวมายังงานขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์ ในระบบงานควบคุมผลิตภัณฑ์ก่อนออกสู่ท้องตลาดด้วยสัดส่วนที่เหมาะสม จะช่วยให้ให้เกิดการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด และยังเป็นการเพิ่มผลผลิตของสำนักงานฯ โดยรวมด้วยen
dc.format.extent2206048 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1658-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectThailand Food and Drug Administrationen
dc.subjectCost effectivenessen
dc.titleAnalysis of cost function of Thailand Food and Drug Administrationen
dc.title.alternativeการวิเคราะห์สมการต้นทุนของ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประเทศไทยen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Sciencees
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineHealth Economicses
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorPaitoon.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1658-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Adun_Mo.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.