Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14687
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนาภัทร ปาลกะ-
dc.contributor.advisorกิตตินันท์ โกมลภิส-
dc.contributor.advisorทรงจันทร์ ภู่ทอง-
dc.contributor.authorพรพิมล พันธุ์ธีรานุรักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-02-23T03:42:07Z-
dc.date.available2011-02-23T03:42:07Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741434219-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14687-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractคลอแรมเฟนิคอลเป็นยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่งที่ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายในการรักษาการติดเชื้อในสัตว์ การใช้คลอแรมเฟนิคอลอย่างไม่ถูกต้องอาจส่งผลให้เกิดการตกค้างในเนื้อสัตว์หรือผลิตภัณฑ์จากสัตว์ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของผู้บริโภค จากเหตุผลดังกล่าวจึงมีการห้ามใช้คลอแรมเฟนิคอลในสัตว์ที่นำมาเป็นอาหาร ดังนั้นการตรวจหาคลอแรมเฟนิคอลที่ตกค้างในอาหารจึงเป็นสิ่งจำเป็น ในการวิจัยนี้ได้ทำการพัฒนาชุดตรวจสอบคลอแรมเฟนิคอลต้นแบบโดยวิธี indirect competitive enzyme-linked immunosorbent assay (ic-ELISA) ความเข้มข้นที่เหมาะสมของแอนติเจน (คลอแรมเฟนิคอลเชื่อมกับโปรตีน BSA) สำหรับเคลือบจานชนิด 96 หลุมและแอนติบอดีที่จำเพาะต่อคลอแรมเฟนิคอล คือ 0.1 และ 1 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ ชุดตรวจสอบต้นแบบที่พัฒนาขึ้นสามารถใช้วัดปริมาณคลอแรมเฟนิคอลในช่วง 0.3 นาโนเมตรต่อมิลลิลิตรถึง 20 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร ค่าร้อยละของสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน (%CV) ของ intra-assay และ inter-assay อยู่ในช่วง 2.5-16.4% และ 3.5-22.9% ตามลำดับ นอกจากนั้นค่าเฉลี่ยของเปอร์เซ็นการค้นพบคลอแรมเฟนิคอลที่เติมลงไปในสารละลายบัฟเฟอร์และเนื้อกุ้งบดที่ความเข้มข้นต่างๆ เท่ากับ 106 และ 97 ตามลำดับซึ่งใกล้เคียงกับค่าที่ได้จากการวัดด้วยชุดตรวจสอบสำเร็จรูปที่มีจำหน่ายที่ใช้ในการวิจัยนี้และวิธี LC-MS-MSen
dc.description.abstractalternativeChloramphenicol (CAP) is an antibiotic substance widely used to treat bacterial infection in animal. Misuse of chloramphenicol may result in residues in meat or products from animals which directly affect consumer health. From this reason, the use of chloramphenicol in food producing animals is forbidden in many countries. Therefore, the detection of chloramphenicol residue in food is necessary. In this research, test kit prototype for chloamphenicol detection by using indirect competitive enzyme-linked immunosorbent assay (ic-ELISA) was developed. The optimal concentration of coating antigen (CAP-BSA) on the microtiter plate and monoclonal antibodies specific for chloramphenicol was 0.1 ug/ml and 1 ug/ml, respectively. The developed test kit could quantitatively measure chloramphenicol in the range of 0.3-20 ng/ml. The percentages of coefficient variation (%(CV) of intra-assay and inter-assay were between 2.5-16.4% and 3.5-22.9%, repectively. In addition, the average of % recovery of spiked chloramphenicol in buffer and ground shrimp at several concentrations were 106% and 97%, respectively, which were comparable to the values quantified by the commercial test kit used in this research and LC-MS-MS method.en
dc.format.extent2384126 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1277-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนท์แอสเสen
dc.titleการพัฒนาชุดตรวจสอบคลอแรมเฟนิคอลโดยวิธีเอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนต์แอสเสย์en
dc.title.alternativeDevelopment of chloramphenicol test kit using enzyme-linked immunosorbent assay techniqueen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorTanapat.P@Chula.ac.th-
dc.email.advisorkittinan.k@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1277-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pornpimon_Pu.pdf2.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.