Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15016
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพวงเพ็ญ ชุณหปราณ-
dc.contributor.authorจิราภรณ์ ศานติสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-03-31T09:01:05Z-
dc.date.available2011-03-31T09:01:05Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741434863-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15016-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมทางบวกขององค์การพยาบาลโรงพยาบาล มหาวิทยาลัยของรัฐ โดยใช้เทคนิคการวิจัยแบบ Ethnographic Delphi Future Research กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เชี่ยวชาญจำนวน 20 ท่าน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการบริหารการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการศึกษาพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการปฏิบัติการพยาบาล และผู้เชี่ยวชาญทางด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบสอบถามรอบแรกเป็นแบบสอบถามปลายเปิดในการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับ พฤติกรรมทางบวกขององค์การพยาบาล โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ แบบสอบถามรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า วิธีการดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอน โดยขั้นตอนที่ 1 เป็นการสัมภาษณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมทางบวกขององค์การพยาบาล โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ ขั้นตอนที่ 2 นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหา สร้างเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าให้ผู้เชี่ยวชาญตอบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ มัธยฐานและพิสัยระหว่างควอไทล์ ขั้นตอนที่ 3 ใช้แบบสอบถามรอบที่ 2 พร้อมแสดง ค่ามัธยฐานและพิสัยระหว่างควอไทล์ของคำตอบของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมดให้ผู้ เชี่ยวชาญแต่ละท่านยืนยันหรือเปลี่ยนแปลงคำตอบวิเคราะห์ข้อมูลด้วยมัธยฐาน พิสัยระหว่างควอไทล์อีกครั้งเพื่อสรุปผลการวิจัยจากฉันทามติของผู้เชี่ยวชาญ ทั้งหมด ผู้เชี่ยวชาญให้ความร่วมมือในการวิจัยทั้ง 3 ขั้นตอน คิดเป็น 100% ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมทางบวกขององค์การพยาบาล โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ ประอบด้วย 7 ด้านดังนี้ 1) การทำงานเป็นทีม 2) ความฉลาดทางอารมณ์ 3) ความหวัง 4) ความเชื่อมั่นในสมรรถนะของตน 5) ความสุข 6) การมองโลกในแง่ดี และ 7) ความสามารถฟื้นหลัง.en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study positive organizational behaviors in nursing organization Governmental University Hospitals using Ethnographic Delphi Future Research technique. The subjects were 20 experts including nursing administrators, nursing educators, staff nurses and human resource administrators. Research instruments were open ended questionnaire in round 1 and likert scale questionnaire in round 2 and round 3. The EDFR consisted of 3 steps. Step I, all experts were interviewed. Step 2, data was analyzed by using content analysis and developed into likert scale questionnaire. All items in the questionnaire were ranked in step 2 and 3. The data were analyzed by using median and interquartile range. Positive organizational behaviors in nursing organization Governmental University Hospitals were consensus by all experts. The results revealed that positive behaviors in nursing organinztion Governmental University Hospitals composed of 7 factors which were 1) Teamwork 2) Emotional intelligence 3) Hope 4) Self-efficacy 5) Optimism 6) Subjective well being / Happiness and 7) Resilience.en
dc.format.extent2106541 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1213-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพฤติกรรมองค์การen
dc.subjectพยาบาลen
dc.subjectโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยen
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมทางบวกขององค์การพยาบาล โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐen
dc.title.alternativeThe study of positive organizational behaviors in nursing organization governmental university hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPaungphen.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1213-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jiraporn.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.