Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15252
Title: Effects of chitosan on growth and production of rice Oryza sativa L. cv. Pathum Thani 1
Other Titles: ผลของไคโทซานต่อการเติบโตและปริมาณผลผลิตในข้าว Oryza sativa L. พันธุ์ปทุมธานี 1
Authors: Paitoon Seanbualuang
Advisors: Rath Pichyangkura
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: prath@chula.ac.th, rath.p@chula.ac.th
Subjects: Chitosan
Rice -- Growth
Issue Date: 2007
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Chitosan is a derivative of chitin (produced by deacetylation of the aceta amido group). Chitin is the principal component of the hard exoskeleton of shrimp, crabs and insects. Chitosan has become interesting not only because the abundant of crustaceans shells available from fishery industry, but also as a high potential natural material which can be used in various applications. Chitosan has ability to inhibit growth of certain bacteria and fungi which cause diseases in plants, induces plant defense mechanism, stimulates plant growth and enhances yield production. The objective of this study is to investigate the effects of chitosan concentrations on growth and yield production of rice Oryza sativa L. cv. Pathum Thani 1. Chitosan was prepared from crab shells and hydrolyzed by chitinase produced from Bacillus licheniformis SK-1. The percent of degree of deacetylation (%DD) and molecular weight of chitosan was determined. The chitosan prepared has 91 %DD and the molecular weight of 46 kDa. The effects of chitosan on seed germination, growth and yield production were investigated. Chitosan treatments consisted of four concentrations at 10, 20, 40, and 80 ppm, distilled water as a control. Chitosan did not affect seed germination. The difference among treatment was not significant. Chitosan increased plant height, leaf blade length and area, and rice straws dry weight. The most effective concentrations were 20 and 40 ppm. The study also found that chitosan treatment at 20, 40, and 80 ppm significantly increase panicles per plant when compared to the control (P<0.05). Other results showed that total grain number and grain weight were increased of 3 to 5 % by chitosan treatment, where 40 ppm was the most effective concentration. This study suggests that chitosan at the concentration of 40 ppm had a potency to stimulate growth and increase rice yield. The effective application of chitosan on rice plants is dependent on the concentration and the application methods of chitosan.
Other Abstract: ไคโทซานเป็นอนุพันธ์ของไคทิน ซึ่งไคทินเป็นองค์ประกอบหลักของเปลือกกุ้ง ปู แมง และแมลง ไคโทซานได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะนอกจากจะมีวัตถุดิบในประเทศที่สามารถใช้เพื่อผลิตในปริมาณมากจากอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารทะเลแล้ว เรายังสามารถนำไคโทซานไปประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ ได้มากมาย อาทิ ในด้านการเกษตร ไคโทซานสามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรีย และเชื้อรา ที่เป็นสาเหตุของโรคพืช กระตุ้นให้พืชสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อต้านทานต่อเชื้อโรคและแมลงที่เป็นศัตรู รวมทั้งกระตุ้นการเจริญเติบโตและช่วยเพิ่มผลผลิตในพืชหลายชนิด วัตถุประสงค์ของการทดลองนี้ คือ ศึกษาผลของระดับความเข้มข้นของไคโทซานต่อการเติบโตและปริมาณผลผลิตในข้าว Oryza sativa L. พันธุ์ปทุมธานี 1 โดยสกัดไคโทซานจากเปลือกปูแล้วนำไปย่อยด้วยไคทิเนสจาก Bacillus licheniformis SK-1 เพื่อลดขนาดโมเลกุลแล้วทำการวัดเปอร์เซ็นต์การกำจัดหมู่แอซิทิลและน้ำหนักโมเลกุลของไคโทซาน พบว่าไคโทซานที่ได้มีเปอร์เซ็นต์การกำจัดหมู่แอซิทิลเท่ากับ 91% และน้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ย (MW) เท่ากับ 46 kDa เมื่อนำสารละลายไคโทซานความเข้มข้นต่างๆ 10, 20, 40, และ 80 ppm ไปทดสอบผลของไคโทซานต่อการงอกของเมล็ดข้าว การเจริญเติบโต และปริมาณผลผลิตข้าว โดยใช้น้ำกลั่นเป็นชุดควบคุม พบว่าไคโทซานไม่มีผลต่อเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดข้าว แต่พบว่าไคโทซานมีผลต่อการเติบโตของต้นข้าวโดยไคโทซานความเข้มข้น 20 และ 40 ppm ทำให้ความสูง ความยาวใบ พื้นที่ใบ และน้ำหนักแห้งของต้นข้าวเพิ่มมากขึ้น การศึกษาผลของไคโทซานต่อการแตกกอ จำนวนรวง และปริมาณผลผลิต พบว่าไคโทซานความเข้มข้น 20, 40, และ 80 ppm ทำให้ต้นข้าวแตกกอเพิ่มมากขึ้น และมีจำนวนรวงเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) และเมื่อนับจำนวนเมล็ดข้าวรวมทั้งหมด และหาน้ำหนักเฉลี่ยต่อ 100 เมล็ด พบว่า ที่ความเข้ม 20 และ 40 ppm ทำให้มีจำนวนเมล็ดข้าวเพิ่มขึ้นและไคโทซานทุกความเข้มข้นมีผลทำให้น้ำหนักเมล็ดข้าวเพิ่มมากขึ้น 3-5% เมื่อเทียบกับชุดควบคุม ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าไคโทซานความเข้มข้น 40 ppm มีแนวโน้มเพิ่มการเติบโตและปริมาณผลผลิตข้าว
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2007
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Biotechnology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15252
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.2114
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2007.2114
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paitoon_Se.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.