Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15471
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพล ดุรงค์วัฒนา-
dc.contributor.authorศุภรัตน์ ดิษบรรจง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี-
dc.date.accessioned2011-07-10T07:41:10Z-
dc.date.available2011-07-10T07:41:10Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15471-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractเปรียบเทียบวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีลักษณะของตัวแปรตามเป็นแบบพหุสำหรับข้อมูลระยะยาว วิธีการที่ใช้ในการวิเคราะห์มี 2 วิธี ได้แก่ การวิเคราะห์จำแนกประเภทแบบพหุ (multiple discriminant method: MDA) ซึ่งใช้หลักของเบส์ในการจำแนกกลุ่ม และวิธีการวิเคราะห์การถดถอย มัลติโนเมียลโลจิสติค (multiple logistic regression method: MLR) ซึ่งใช้สมการประมาณค่าโดยนัยทั่วไป (generalized estimating equation: GEE) ในการจำแนกกลุ่มข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์ประกอบด้วยตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ซึ่งตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพ ที่มีจำนวนกลุ่มมากกว่า 2 กลุ่ม และตัวแปรอิสระประกอบด้วยตัวแปรเชิงปริมาณและตัวแปรเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยครั้งนี้ใช้ข้อมูลจริงทางด้านการแพทย์จำนวน 3 ชุด สำหรับการวิเคราะห์ทั้ง 2 วิธี (การติดตามผลโรคนอนไม่หลับ การผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อสะโพก และการรักษาอาการเอ็นร้อยหวายฉีก ตามลำดับ) เกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจคือ การวัดค่าความถูกต้องในการจัดกลุ่ม ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปได้ดังนี้ ข้อมูลชุดที่ 1 เมื่อกำหนดให้โครงสร้างของความแปรปรวนและความแปรปรวนร่วมมีลักษณะเป็นแบบยูนิฟอร์ม โดยใช้ฟังก์ชันสำเร็จรูป ORDGEE พบว่า วิธีการของ MLR มีค่าความถูกต้องในการจัดกลุ่มสูงสุดข้อมูลชุดที่ 2 เมื่อกำหนดให้โครงสร้างของความแปรปรวนและความแปรปรวนร่วม มีลักษณะเป็นแบบอิสระและยูนิฟอร์ม โดยใช้ฟังก์ชันสำเร็จรูป REPOLR พบว่า ทั้ง 2 วิธีการวิเคราะห์ มีค่าค่าความถูกต้องในการจัดกลุ่มเท่ากัน ข้อมูลชุดที่ 3 เมื่อกำหนดให้โครงสร้างของความแปรปรวนและความแปรปรวนร่วมมีลักษณะเป็นแบบอิสระและยูนิฟอร์ม โดยใช้ฟังก์ชันสำเร็จรูป REPOLR พบว่า ทั้ง 2 วิธีการวิเคราะห์ มีค่าค่าความถูกต้องในการจัดกลุ่มเท่ากัน เมื่อพิจารณาถึงความเหมาะสมในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยแนะนำให้ใช้วิธี MLR โดยใช้เทคนิค GEE เนื่องจากเป็นวิธีง่ายและสะดวกในการประยุกต์ใช้กับข้อมูลระยะยาว และสอดคล้องกับเงื่อนไขของข้อมูล สำหรับวิธีการของ MDA มีเงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์มาก เช่น เงื่อนไขของตัวแปรอิสระต้องมีการแจกแจงแบบปกติหลายตัวแปร สำหรับฟังก์ชันสำเร็จรูปผู้วิจัยแนะนำให้ใช้ฟังก์ชัน REPOLR เนื่องจากมีประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ดีกว่าฟังก์ชัน ORDGEE.en
dc.description.abstractalternativeTo compare two methods of multiple classification for longitudinal data. These two methods are multiple discriminant method (MDA) using Bayes’ rule as a classification rule and multiple logistic regression method (MLR) using generalized estimating equation (GEE) as a classification rule. The data consist of independent variables and a dependent variable. The dependent variable is categorical one which there are multiple categories. The independent variables are either quantitative variable or categorical variable. Three actual data sets from medical studies were analyzed using both methods (e.g. insomnia study, hip replacement study and achillies tendon rupture study, respectively). The correct classification rate is used as a criterion for comparing these two methods. The results are summarized as follows. From the first data set, when variance-covariance structure is uniform, and ORDGEE built-in function is used, it is found that the MLR method yields the higher correct classification rate. From the second data set, when variance-covariance structure is independent and uniform, and REPOLR built-in function is applied, it is found that both methods yield equal correct classification rate. From the third data set, when variance-covariance structure is independent and uniform, and REPOLR built-in function is applied, it is found that both methods yield equal correct classification rate. For appropriateness of data analysis, it is recommended that the MLR method with GEE technique should be used because it is easily and conveniently applied to longitudinal data. In contrast, the MDA method is required several assumptions such as multivariate normality of independent variables. For built-in function selection, it is recommended REPOLR should be used because it is more effective than ORDGEE function in all cases of variance-covariance structure.en
dc.format.extent1004470 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1344-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการวิเคราะห์การจำแนกประเภทen
dc.subjectการวิเคราะห์การถดถอยen
dc.titleการเปรียบเทียบการวิเคราะห์ข้อมูลระหว่างการวิเคราะห์ข้อมูลจำแนกประเภท และการวิเคราะห์การถดถอยมัลติโนเมียลโลจิสติค สำหรับข้อมูลระยะยาวen
dc.title.alternativeComparison between discriminant analysis and multinomial logistic regression with longitudinal dataen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถิติes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfcomsdu@acc.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1344-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suparat_di.pdf980.93 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.