Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15580
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorRatana Somrongthong-
dc.contributor.authorOmelihu, Melvin Ngozi-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. College of Public Health Sciences-
dc.coverage.spatialThailand-
dc.date.accessioned2011-07-31T07:32:22Z-
dc.date.available2011-07-31T07:32:22Z-
dc.date.issued2009-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15580-
dc.descriptionThesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2009en
dc.description.abstractBackground : An outbreak of Influenza (H1N1) was detected in Mexico with subsequent cases observed in many countries. Influenza A (H1N1) is currently the greatest pandemic disease threat to human. At present, pandemic (H1N1) 2009 has been spreading rapidly. In Thailand cases among students has been reported and still on the increase. Objective : To assess the level of knowledge and preventive behaviors of International students at Chulalongkorn University. Method : The cross- sectional study on Knowledge and preventive behavior was conducted in 191 international students at Chulalongkorn University from February to March 2010. Findings : (1) the samples’ knowledge regarding H1N1 was high (63.4%) and moderate (36.6%). None of them had low level of knowledge. Their preventive behavior level was moderate (82.2%); high (14.7%) and low (3.1%). (2) of the demographic variables, only sex had a strong association with knowledge (p<0.001). (3) None of the demographic variables had association with preventive behavior. (4) Enough Information they received regarding H1N1 was significantly associated with knowledge (p-value 0.022); covered their nose when sneezing with mask and knowledge (p-value 0.024); classroom cleaning (p-value 0.036). Conclusion : Efforts on communication should be intensified and emphasis on the efficacy of preventive behaviors and risks from the disease may help promote compliance.en
dc.description.abstractalternativeการระบาดโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ (H1N1) ได้เริ่มขึ้นที่ประเทศแมกซิโก และมีการแพร่กระจายไปสู่ประเทศต่างๆ ทั่วโลก อันนำไปสู่การเสียชีวิต จนถึงปัจจุบันไข้หวัดใหญ่สายพันธุ (H1N1) ได้มีการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว ในประเทศไทยก็เช่นกัน พบว่ามีการระบาดในกลุ่มนักเรียน นักศึกษาและมีแนวโน้มการระบาดเพิ่มขึ้น การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความรู้ และพฤติกรรมในการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ (H1N1) ในนิสิตต่างชาติของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การดำเนินการวิจัยเป็นการศึกษาภาคตัดขวาง กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นิสิตต่างชาติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ในเดือนกุมภาพันธุ์ ถึงมีนาคม 2553 ผลการศึกษาพบว่า ความรู้เกี่ยวกับโรคและการการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ (H1N1) ของกลุมตัวอย่าง 63.4% อยู่ในระดับสูง 36.6% อยู่ในระดับปานกลาง สำหรับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ (H1N1) ของกลุ่มตัวอย่าง 82.2% อยู่ในระดับปานกลาง 14.7% อยู่ในระดับสูง และ 3.1% อยู่ในระดับต่ำ ตามลำดับ สำหรับปัจจัยทางประชากรที่มีความสัมพันธ์ต่อความรู้เรื่องโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ (H1N1) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ เพศ (p value<0.001) และพบว่ามีปัจจัยทางประชากร ไม่มีผลต่อความรู้รื่องโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ (H1N1) การได้รับข้อมูลข่าวสารในเรื่องโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่อย่างพอเพียง พบว่า มีผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กับความรู้เรื่องโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ (p-value 0.022) พฤติกรรมการปิดปากปิดจมูกด้วยผ้าเมื่อจามหรือไอ (p-value 0.024) และความสะอาดของห้องเรียน (p-value 0.036) ดังนั้นการสื่อสารในเรื่องโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ควรเน้นในเรื่องความสำคัญของพฤติกรรมในการป้องกันโรค และพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรค เพื่อส่งเสริมให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี.en
dc.format.extent1342911 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1884-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectH1N1 influenzaen
dc.subjectH1N1 influenza -- Preventionen
dc.subjectHealth behavioren
dc.subjectStudents, Foreign -- Thailanden
dc.titleAssessment of knowledge and preventive behavior against influenza A (H1N1) among international students at Chulalongkorn Universityen
dc.title.alternativeการประเมินความรู้ และพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ (H1N1) ของนิสิตต่างชาติในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Public Healthes
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplinePublic Healthes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorratana.so@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1884-
Appears in Collections:Pub Health - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
melvin_om.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.