Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15741
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริเพ็ญ พิริยจิตรกรกิจ-
dc.contributor.authorศิรประภา ชวะนะญาณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-08-20T05:50:34Z-
dc.date.available2011-08-20T05:50:34Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15741-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractแสดงความเป็นไปได้ของความรู้ก่อนประสบการณ์ ในลำดับแรก ผู้วิจัยได้ปกป้องความรู้ก่อนประสบการณ์ในฐานะที่เป็น “ความเชื่อที่จริงและมีเหตุผล สนับสนุนที่จะเชื่อความเชื่อนั้น” กล่าวคือ S จะรู้ว่า P เมื่อและก็ต่อเมื่อ (1) S เชื่อว่า P (2) P จริง และ (3) S มีเหตุผลสนับสนุนที่จะเชื่อว่า P ในลำดับที่สอง ผู้วิจัยแสดงให้เห็นว่าประพจน์ก่อนประสบการณ์ไม่เกี่ยวข้องกับความจริงแบบจำเป็น เราจึงไม่สามารถปฏิเสธความรู้ก่อนประสบการณ์ จากการปฏิเสธความจริงแบบจำเป็นได้ ในลำดับที่สาม ผู้วิจัยแสดงให้เห็นว่าความรู้ก่อนประสบการณ์ แตกต่างจากความรู้หลังประสบการณ์ในเงื่อนไขเกี่ยวกับเหตุผลสนับสนุน กล่าวคือ ความรู้ก่อนประสบการณ์คือความรู้ที่ถูกให้เหตุผลสนับสนุนแบบไม่ใช่ประสบการณ์ ส่วนความรู้หลังประสบการณ์คือความรู้ที่ถูกให้เหตุผลสนับสนุนแบบอาศัยประสบการณ์ และผู้วิจัยจะเสนอด้วยว่า “การมีมโนทัศน์” ทำให้การให้เหตุผลสนับสนุนแบบไม่ใช่ประสบการณ์เป็นไปได้ กล่าวคือ เราสามารถตัดสินว่าประพจน์ก่อนประสบการณ์หนึ่งๆ ถูกต้องหรือไม่ได้โดยอาศัยเพียงการมีมโนทัศน์ ในลำดับสุดท้าย ผู้วิจัยแสดงให้เห็นว่าปัญหาของประพจน์วิเคราะห์ไม่ส่งผลกระทบใดๆ ต่อสถานะของความรู้ก่อนประสบการณ์ ไม่ว่าจะมีการยอมรับว่ามีความแตกต่าง ระหว่างประพจน์วิเคราะห์กับประพจน์สังเคราะห์หรือไม่ก็ตามen
dc.description.abstractalternativeTo insist on a possibility of a priori knowledge. Firstly, I defend a priori knowledge as justified true belief, that is, S knows that p if and only if (1) p is true, (2) S believes that p, and (3) S is justified in believing that p. Secondly, l demonstrate that apriority is not about necessity. Thus, declining the concept of necessity is not a good ground for declining a priori knowledge. Thirdly, I argue that a priori knowledge differs from a posteriori knowledge in the condition about the justification: a posteriori knowledge is knowledge which is experientially justified, but a priori knowledge is knowledge which is nonexperientially justified. And I also propose that “possessing concept” makes the nonexperiential justification possible, that is, we can decide whether a priori proposition is true or not, only from concept possession. Finally, I maintain that, whether we accept the distinction between analytic proposition and synthetic proposition, the problem of analyticity does not have any effect on the status of a priori knowledge.en
dc.format.extent1651364 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1239-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการอ้างเหตุผลen
dc.subjectความรู้ก่อนประสบการณ์en
dc.subjectญาณวิทยาen
dc.titleการให้เหตุผลสนับสนุนความรู้ก่อนประสบการณ์en
dc.title.alternativeA justification of a priori knowledgeen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineปรัชญาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSiriphen.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1239-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siraprapa_Ch.pdf1.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.