Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1609
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมชาย จิตะพันธ์กุล | - |
dc.contributor.advisor | เพียร โตท่าโรง | - |
dc.contributor.author | ปอนด์ บุณยะเวศ, 2523- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-08-09T08:54:23Z | - |
dc.date.available | 2006-08-09T08:54:23Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9745310905 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1609 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | การวิเคราะห์สัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็นการวิเคราะห์ที่ง่ายและมีความเสี่ยงน้อยกว่าวิธีอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าทำการวิเคราะห์สัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจในขณะออกกำลังกายจะสามารถระบุอาการผิดปกติของหัวใจได้ด้วยอัตราความถูกต้องสูงเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการอื่นๆ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอแบบจำลองมัลติควอดริกเป็นแบบจำลองคณิตศาสตร์เพื่อสร้างแบบจำลองคลื่นไฟฟ้าหัวใจ และเปรียบเทียบกับ 2 แบบจำลอง คือ ฟังก์ชันเกาส์ และแบบจำลองสไปลน์ โดยการนำพารามิเตอร์ของแบบจำลองมาเปรียบเทียบด้านความสามารถในการบีบอัดข้อมูล ด้านความถูกต้องของการสร้างแบบจำลองคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ในการจำแนกอาการคลื่นไฟฟ้าหัวใจขึ้นใหม่ และความสามารถ เพื่อเป็นประโยชน์ในการเลือกแบบจำลองทางคณิตศาสตร์มาสร้างแบบจำลองคลื่นไฟฟ้าหัวใจนำไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการสร้างแบบจำลองคลื่นไฟฟ้าหัวใจสำหรับงานนั้นๆ จากการทดลองพบว่าแบบจำลองมัลติควอดริกมีประสิทธิภาพดีกว่าฟังก์ชันเกาส์ และแบบจำลองสไปลน์ นอกจากนี้แบบจำลองมัลติควอดริกยังมีความซับซ้อนของขั้นตอนการสร้างแบบจำลองน้อยกว่าฟังก์ชันเกาส์ และแบบจำลองสไปลน์ | en |
dc.description.abstractalternative | ECG signals analysis during exerise stress testing is a simple method and less risk than other methods. This thesis purposed to use Multiquadric interpolation method (MQ) for ECG's mathematical modeling and then compared with another two well-known techniques, Gaussian function and Spline model. The parameters used in this comparison are the data compression capability, the ECG signals reconstruction effectiveness and the ECG signals classification correction in order to select the most appropriate mathematical model for using in the ECG modeling. The MQ is more efficient and useful than the others in every ways. However, the MQ is still less complicate than the others. From experimental results using Matlab run on MS Window PC. | en |
dc.format.extent | 2305430 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ--แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ | en |
dc.title | การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบเทคนิคการจำลองคลื่นไฟฟ้าหัวใจ | en |
dc.title.alternative | Comparative study of electrocardiogram modeling techniques | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมไฟฟ้า | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Somchai.J@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.