Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1625
Title: | โครงการสำรวจการกำจัดน้ำเสียของโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร : รายงานฉบับสมบูรณ์ |
Other Titles: | สำรวจการกำจัดน้ำเสียของโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร : รายงานฉบับสมบูรณ์ การกำจัดน้ำเสียของโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร : รายงานฉบับสมบูรณ์ |
Authors: | พักตร์วิมล เพียรล้ำเลิศ ธงชัย พรรณสวัสดิ์ วินัย สมบูรณ์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม |
Subjects: | น้ำเสีย--การบำบัด โรงพยาบาล |
Issue Date: | 2540 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | โครงการสำรวจการกำจัดน้ำเสียของโรงพยาบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบวิธีการกำจัดน้ำเสียของโรงพยาบาลประเภททั่วไปในกรุงเทพมหานคา ที่ปฏิบัติกันอยู่ในปัจจุบัน และความคิดเห็นของผู้บริหารโรงพยาบาลต่อการมีระบบน้ำเสียใช้ในโรงพยาบาล การศึกษานี้ได้ใช้แบบสอบถามควบคู่กับการสำรวจภาคสนาม โดยทำการเก็บข้อมูลในช่วงเดือน สิงหาคม-ธันวาคม 2531 ทั้งนี้กำหนดให้โรงพยาบาบประเภททั่วไปที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคาที่มีขนาดตั้งแต่ 50 เตียงขึ้นไปเป็นโรงพยาบาลที่มีศักยภาพในการบำบัดน้ำเสียในขณะนั้น ได้จำนวนตัวอย่างทั้งสิ้น 52 โรงพยาบาล ผลการสำรวจการกำจัดน้ำเสียของโรงพยาบาล พบว่าร้อยละ 57 ของโรงพยาบาลศึกษา กำจัดน้ำเสียโดยใช้บ่อเกรอะน้ำซึม หรือถังน้ำบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูป อีกร้อยละ 14ใช้บ่อพักน้ำ และอีกร้อยละ 25 ใช้ระบบบำบัดน้ำเสียที่พัฒนาแลว ที่เหลือใช้มากกว่า 1 วิธี แต่เนื่องจากน้ำเสียจากโรงพยาบาลมีทั้งปริมาณความเข้มข้นและเชื้อจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ดังนั้น น้ำเสียจากโรงพยาบาลจึงต้องผ่านการบำบัดและใช้น้ำยาฆ่าเชื้อโรคในน้ำทิ้ง ก่อนที่จะระบายลงสู่คู/ท่อน้ำสาธารณะ หากยึดเกณฑ์ตามนี้ มีโรงพยาบาลที่บำบัดน้ำเสียครบสมบูรณ์แบบ จำนวน 8 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 14 ของโรงพยาบาลตัวอย่าง |
Other Abstract: | Objectives of the project are [1] to investigation hospital wastewater disposal system and [2] to collect the executives ideas if secondary treatment plants in hospitals. The project's survey started in 1988 bu using questionnaire. Samples selected for study are 56 general hospital in Bangkok. The result of the study are that 57% of samples just treat toilet wastewater by using septic tank, another 14% use primary treatment plant and 25% use secondary treatment plant. The remaining 4% using more than 1 approaches. According to hospital wastewater, the BOD and pathogenic microorganism are more concentrate than househol wastewater. Therefore the hospital wastewater from all sources should be treated before being drained to public area or a public sewer. In this case it was found that only 14% of general hospitals in Bangkok have their wastewater from all sources discharged into secondary treatment plant. |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1625 |
Type: | Technical Report |
Appears in Collections: | Env - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pukwimol(hos).pdf | 5.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.