Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16350
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorDamrong Thaveesaengsakulthai-
dc.contributor.authorSarush Yamolyong-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineering-
dc.date.accessioned2011-12-09T03:50:12Z-
dc.date.available2011-12-09T03:50:12Z-
dc.date.issued2007-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16350-
dc.descriptionThesis (M.Eng)--Chulalongkorn University, 2007en
dc.description.abstractThis thesis studied the Fused Biconic Taper Coupler manufacture process. The objective of this studied was to improve process of Fused Biconic Taper Coupler with expected results, 1: Reduce scrap and scrap cost per unit 2. Reduce cycle time. The study used DMAIC which is one of the improvement models in the Six Sigma methodology to find out the root cause. From the study, Draw process is the root cause that makes scrap cost per unit increase. Following DMAIC model, many implement ways were applied to the current process but the result has still shown the high scrap cost and some implementation may cause the new problem. So, DMADV was chosen to be a model for new process design. To serve with the requirement of both manufacturing team and customer, the Kano model was used to reference for an exciting quality design. After feeding machine was designed, both technical criteria and the efficiency of the machine were verified by using statistical analysis before implement in the production line. Along this study, Brainstorm and meeting environment also are the other important factor that can make the clarify direction and good project management. In conclusion, result of this study achieves to reduce scrap of fiber in draw process reach to 94%, reduce average cycle time of draw process about 1-2 second, prevent 100% of scrap cost per unit which occur from the price of material changing, and improve inventory information management.en
dc.description.abstractalternativeวิทยานิพนธ์นี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการศึกษาการปรับปรุงกระบวนการผลิต Fused Biconic Taper Coupler ซึ่งเป็นอุปกรณ์การแบ่งแสงที่ใช้ในธุรกิจการสื่อสารและการส่งข้อมูลทางแสง มีวัตถุประสงค์เพื่อลดปริมาณของเสียและปรับปรุงกระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ผู้เขียนได้ศึกษาการประยุกต์ใช้แนวทางการปรับปรุง และออกแบบเครื่องมือโดยมุ่งเน้นแนวทางของคุณภาพเป็นหลัก ซึ่งมุ่งหวังจะปรับปรุงกระบวนการที่สามารถลดปัญหาการเกิดของเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังคงรักษาคุณภาพในการผลิตได้สอดคล้องต่อความต้องการของลูกค้า การวิจัยเริ่มต้นตั่งแต่การหาระบบการวิเคราะห์ปัญหาที่เหมาะสม เพื่อการแก้ไขปัญหาได้อย่างตรงจุดและรวดเร็ว โดยใช้แนวทางการแก้ไขปัญหาแบบ DMAIC ซึ่งเป็นหนึ่งในเครื่องมือการปรับปรุงคุณภาพในแนวทางของซิกซิกม่า จากการศึกษาพบว่ามีของเสียส่วนใหญ่เกิดจากกระบวนการผลิตในขั้นตอนการดึงFiber แต่เมื่อทำการปรับปรุงกระบวนการที่ใช้อยู่ในปัจจุบันแล้วไม่ได้ผลลัพท์ที่พอใจ จึงนำหลักการDMADVเข้ามาใช้เพื่อออกแบบกระบวนการผลิตใหม่ซึ่งคือการออกแบบเครื่องมือในการควบคุมการดึงFiber เครื่องมือการดึงfiberแบบใหม่ได้ถูกนำไปทดลองใช้ในสภาพจริงเพื่อเป็นการประเมินผลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงสถิติ รวมถึงตรวจสอบผลกระทบทางด้านลบต่อคุณภาพของชิ้นงาน ที่อาจเกิดขึ้นจากการออกแบบของเครื่องดึงFiberก่อนจะนำไปใช้งานจริง ตลอดขั้นตอนการดำเนินโครงการผู้เขียนได้นำหลักการการทำงานเป็นทีม โดยมีการประชุมแบบระดมสมองเพื่อค้นหาปัญหาและง่ายต่อการตั้งเป้าหมายและทิศทางในการปฏิบัติงาน จากผลการศึกษาสามารถสรุปได้ว่าเครื่องมือการดึงFiberสามารถเพิ่ม ประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตได้ กล่าวคือช่วยลดเวลาในกระบวนการดึงสายfiber 1-2 วินาทีโดยเฉลี่ย, สามารถประสบความสำเร็จในการลดของเสียที่เกิดจากกระบวนการดึงFiberได้ถึง 94% และ มูลค่าของเสียต่อหน่วยของการผลิตจะไม่มีผลกระทบจากการเปลี่ยนวัตถุดิบอีกต่อไป โดยมีประโยชน์ทางอ้อมคือ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมวัตถุดิบ และ ลดต้นทุนในการผลิตen
dc.format.extent2928153 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1446-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectOptical fibersen
dc.subjectFiber opticsen
dc.subjectSix sigma (Quality control standard)en
dc.titleProcess improvement for fused biconic taper coupler manufacturing by using six sigmaen
dc.title.alternativeการปรับปรุงกระบวนการผลิต Fused Biconic Taper Coupler โดยใช้แนวทาง Six Sigmaen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Engineeringes
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineEngineering Managementes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1446-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sarush_Ya.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.