Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17413
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorJintana Yunibhand-
dc.contributor.advisorYupin Aungsuroch-
dc.contributor.authorMayuree Leethong-in-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Nursing-
dc.coverage.spatialThailand-
dc.date.accessioned2012-03-07T02:25:36Z-
dc.date.available2012-03-07T02:25:36Z-
dc.date.issued2009-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17413-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2009en
dc.description.abstractTo develop and examine the causal relationships among self-efficacy, positive outcome expectation, negative outcome expectation, age, social support, physical environment, and physical activity among older Thai people. The sample, 320 Thai older people aged 60 years and over who resided in twelve communities within 6 sub-districts of Thailand was obtained by multi-stage random sampling. Research instruments were a personal data sheet, the Chula mental test, the positive outcome expectations for physical activity, the negative outcome expectations for physical activity, the self-efficacy for physical activity, the social support for physical activity, the environment supports for physical activity, and the physical activity questionnaires. Data were analyzed using descriptive statistics and structural equation modeling. The goodness of fit indices illustrated that the physical activity model fit with the empirical data, and explained 65% of the variance of physical activity in healthy older Thai people. Self-efficacy was the most influential factor affecting physical activity both direct and indirect effects through negative outcome expectations. Positive outcome expectation, age, and physical environment had a significant direct effect on physical activity. Social support had a significant indirect effect on physical activity through self-efficacy. However, the positive outcome expectation was no significant to perform as directed effect from self-efficacy to physical activity. The study suggested that the physical activity model can explain physical activity in healthy older Thai people. The further interventions should be concerned about enhancing self-efficacy reducing negative outcome expectation reducing negative outcome expectation reducing negative outcome expectation, motivating social support, and providing physical environment to increase the physical activity of healthy older Thai peopleen
dc.description.abstractalternativeพัฒนาและทดสอบโมเดลที่ใช้ในการอธิบายการมีกิจกรรมทางกายของผู้สูงอายุไทย ซึ่งประกอบด้วย ความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง ความคาดหวังผลลัพธ์ด้านบวก ความคาดหวังผลลัพธ์ด้านลบ อายุ การสนับสนุนทางสังคม และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ผู้สูงอายุไทยจำนวน 320 คน ที่ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนจาก 12 ชุมชน ใน 6 ภาคของประเทศไทย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบทดสอบสภาพจิตจุฬา แบบสอบถามความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองต่อการมีกิจกรรมทางกาย แบบสอบถามความคาดหวังผลลัพธ์ด้านบวกจากการมีกิจกรรมทางกาย แบบสอบถามความคาดหวังผลลัพธ์ด้านลบจากการมีกิจกรรมทางกาย แบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อการมีกิจกรรมทางกาย แบบสอบถามการสนับสนุนสิ่งแวดล้อมทางกายภาพเพื่อการมีกิจกรรมทางกาย และแบบสอบถามการมีกิจกรรมทางกายของผู้สูงอายุไทย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสมการโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่า โมเดลมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และตัวแปรที่อยู่ในโมเดลสามารถร่วมกันอธิบายความผันแปรของการมีกิจกรรมทางกายของผู้สูงอายุไทยได้ 65% ทั้งนี้ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีกิจกรรมทางกายมากที่สุดคือ ความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง มีอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อมผ่านความคาดหวังผลลัพธ์ด้านลบจากการมีกิจกรรมทางกาย ความคาดหวังผลลัพธ์ด้านบวกไม่มีอิทธิพลต่อการมีกิจกรรมทางกาย ความคาดหวังผลลัพธ์ด้านลบ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และอายุมีอิทธิพลทางตรงต่อกิจกรรมทางกาย และการสนับสนุนทางสังคมมีอิทธิพลทางอ้อมต่อการมีกิจกรรมทางกายผ่านความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง อย่างไรก็ตาม ความคาดหวังผลลัพธ์ด้านบวกทำหน้าที่ตัวแปรส่งผ่านระหว่างความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองกับการมีกิจกรรมทางกาย แต่ไม่มีนัยสำคัญ ผลการวิจัยบ่งชี้ว่าโมเดลการมีกิจกรรมทางกายสามารถอธิบาย และทำนายการมีกิจกรรมทางกายของผู้สูงอายุไทยได้ การจัดกิจกรรมการพยาบาลที่ครอบคลุมการเพิ่มความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง การลดความคาดหวังผลลัพธ์ด้านลบจากการมีกิจกรรมทางกาย การส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคมและสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ควรส่งเสริมผู้สูงอายุไทยให้มีกิจกรรมทางกายen
dc.format.extent2584942 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1774-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectOlder people -- Thailanden
dc.titleA causal model of physical activity in healthy older Thai peopleen
dc.title.alternativeโมเดลเชิงสาเหตุของการมีกิจกรรมทางกายของผู้สูงอายุไทยen
dc.typeThesises
dc.degree.nameDoctor of Philosophyes
dc.degree.levelDoctoral Degreees
dc.degree.disciplineNursing Sciencees
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorJintana.Y@Chula.ac.th-
dc.email.advisorYupin.A@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1774-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
mayuree_le.pdf2.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.