Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17725
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์ | - |
dc.contributor.author | นัยนา ทองดี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-03-10T09:16:04Z | - |
dc.date.available | 2012-03-10T09:16:04Z | - |
dc.date.issued | 2526 | - |
dc.identifier.isbn | 9745622605 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17725 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษากระบวนการบริหารงานของกลุ่มโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาในส่วนภูมิภาค 7 ด้าน คือ การวางแผนงาน การมอบหมายงาน การประสานงาน ความร่วมมือ การรายงาน การติดตามและประเมินผลงาน การงบประมาณ 2. เพื่อศึกษา ปัญหา และอุปสรรคการบริหารงานของกลุ่มโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาในส่วนภูมิภาค วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 3 กลุ่ม คือ กรรมการบริหารกลุ่มโรงเรียน 110 คน ผู้ช่วยบริหารฝ่ายวิชาการจำนวน 111 คน และหัวหน้าหมวดวิชาจำนวน 214 คน รวมทั้งสิ้น 435 คน จากกลุ่มโรงเรียนมัธยมศึกษาส่วนภูมิภาค 12 กลุ่มโรงเรียน จาก 12 จังหวัด โดยการสุ่มแบบแบ่งเขตมาเขตการศึกษาละ 1 จังหวัด ๆ ละ 1 กลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม 3 ชุดที่มีลักษณะเดียวกัน สำหรับกลุ่มตัวอย่างประชากรทั้ง 3 กลุ่ม แบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบ แบบมาตราส่วนประมาณค่า และแบบสอบถามปลายเปิด โดยเน้นคำถามที่ครอบคลุมถึงกระบวนการบริหารงานกลุ่มโรงเรียนในด้านต่าง ๆ ทั้ง 7 ด้าน ดังได้กล่าวมาแล้ว การเก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ส่งแบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่างประชากรตอบจำนวน 516 ฉบับ ได้กลับคืนมา 435 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 84.30 แล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย 1. ผลการวิจัยเกี่ยวกับสถานภาพของกรรมการบริหารกลุ่มโรงเรียน ผู้ช่วยบริหารฝ่ายวิชาการ และหัวหน้าหมวดวิชาของกลุ่มโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาในส่วนภูมิภาค พบว่า กรรมการบริหารกลุ่มโรงเรียน ผู้ช่วยบริหารฝ่ายวิชาการและหัวหน้าหมวดวิชา ส่วนใหญ่มีวุฒิปริญญาตรี กรรมการบริหารกลุ่มโรงเรียนส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 35-44 ปี ส่วนผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนและหัวหน้าหมวดวิชาส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 25-34 ปี กรรมการบริหารกลุ่มโรงเรียนส่วนใหญ่มีอายุราชการระหว่าง 16-20 ปี ส่วนผู้ช่วยบริหารฝ่ายวิชาการและหัวหน้าหมวดวิชาส่วนใหญ่มีอายุราชการต่ำกว่า 6 ปี และกลุ่มตัวอย่างประชากรทั้ง 3 กลุ่ม ส่วนใหญ่ดำรงตำแหน่งนั้น ๆ มาแล้วต่ำกว่า 6 ปีทุกกลุ่ม 2. จากการวิจัยถึงกระบวนการบริหารงานกลุ่มโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาในส่วนภูมิภาค ปรากฏว่า กรรมการบริหารกลุ่มกลุ่มโรงเรียน ผู้ช่วยบริหารฝ่ายวิชาการ และหัวหน้าหมวดวิชา เห็นว่ากลุ่มโรงเรียนได้ปฏิบัติงานในกระบวนการบริหารในด้านการวางแผนงาน การมอบหมายงาน การประสานงาน ความร่วมมือ การรายงาน การติดตามและประเมินผลงาน การงบประมาณ อยู่ในเกณฑ์น้อยทุกเรื่อง 3. จากความคิดเห็นของกลุ่มประชากรทั้ง 3 เกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรค สรุปได้ดังนี้ 3.1 ด้านการวางแผนงาน โรงเรียนอยู่ห่างไกลกันทำให้การประชุมลำบาก แผนงานไม่สอดคล้องกับระยะเวลาการปฏิบัติงานตามแผนของโรงเรียน ผู้ช่วยผู้บริหารและหัวหน้าหมวดวิชาไม่มีส่วนร่วมและรับรู้ แผนงานไม่สนองความต้องการของโรงเรียนขนาดเล็ก 3.2 ด้านการมอบหมายงาน ไม่มีการกระจายงาน มักจะมอบหมายให้โรงเรียนขนาดใหญ่ และมักทำกันในหมู่ผู้บริหาร ทำกันอย่างไม่มีขั้นตอน ไม่มอบหมายงานเป็นลายลักษณ์อักษร 3.3 ด้านการประสานงาน มีอุปสรรคเนื่องจากโรงเรียนอยู่ไกลกัน การคมนาคมไม่สะดวก เกิดความล่าช้า 3.4 ด้านความร่วมมือ ความร่วมมือมีน้อย โรงเรียนขนาดใหญ่ไม่ช่วยเหลือโรงเรียนขนาดเล็ก 3.5 ด้านการรายงาน ผลงานมีน้อยทำให้การรายงานน้อย และไม่สม่ำเสมอ ไม่มีการพิมพ์รายงานผลการตกลงในการประชุมให้ครู-อาจารย์ทราบ การรายงานมักไม่ตรงต่อความเป็นจริง 3.6 ด้านการติดตามและประเมินผล ไม่ค่อยมีการติดตามและประเมินผล ขาดบุคลากรที่ทำงานด้านนี้ ไม่นำผลที่ประเมินได้มาปรับปรุงแก้ไขการทำงาน 3.7 ด้านการงบประมาณ ได้รับงบประมาณน้อยเกินไป การเบิกจ่ายมีขั้นตอนยุ่งยาก | - |
dc.description.abstractalternative | Objectives of the Research 1. To study the administrative processes of the regional secondary school clusters under the Department of General Education in the following areas: Planning, Delegation of Authority, Coordination, Cooperation, Reporting Procedures, Follow-up and Evaluation Programs and budgeting. 2. To study problems and obstacles arising in the administrative processes of the provincial secondary school clusters under the Department of General Education. Research Procedures The total population in this study was 435 persons consisting of three groups: 110 members from administrative committees of secondary school clusters; 111 assistant principals for academic affair; and 214 Department heads. This population was obtained by using random sampling, taking one school cluster from one province in each of the 12 educational regions. The instruments used in this research were similar for the three population groups. The Questionnaires included a checklist, a rating scale, and open-ended questions covering the seven areas mentioned above. A total of 516 questionnaires were distributed by mail. Of these 435 copies or 84.30 percent were returned. The data were then analyzed by using percentages, arithmetical means, and standard deviations. Conclusions The findings of the study provided the following information. 1. Background information Information Number Population Groups 1.1 Received Bachelor’s Degree 1.2 35-44 years of age 1.3 25-34 years of age 1.4 16-20 years government service 1.5 Less than 6 years government service 1.6 Less than 6 years in present position Majority Majority Majority Majority Majority Majority All groups Administrative committees Assistant Principals and Department Heads Administrative committees Assistant Principals and Department Heads All groups 2. All three population groups reported that the school cluster performed the tasks of planning, delegation, coordination, cooperation, reporting, follow-up and evaluation and budgeting at a low level in all areas. 3. The opinions of the three population groups concerning problems and obstacles were as follows: 3.1 Planning: The school in each cluster were scattered and far apart, so it was difficult to set meetings. The planning of the secondary school clusters did not coincide with plans made by the schools and did not correspond to the requirements of small sized schools. Also the assistant principals and the department heads did not participate in administrative committee meetings. 3.2 Delegation of Authority: The secondary school clusters delegated work to large sized school only instead of spreading responsibility. The work was performed by groups of administrators without evidence of any ordered progression or writing support. 3.3 Coordination: Obstacles arose because of the distance between the schools in each cluster. Transportation was not good, and members were always late for appointments. 3.4 Cooperation: There was a lack of cooperation between the large sized schools and the small sized ones, with a lack of support from the former. 3.5 Reporting: There was little reporting and it was not consistent. Reports were few because conclusions of the administrative committee meetings since written reports of committee business and decisions were seldom made. In addition, reports were often not true to real situations. 3.6 Follow-up and Evaluation Programs: There was little follow-up and evaluation. The administration of secondary school clusters lacked qualified personnel. Findings were not introduced as solutions to problems. 3.7 Budgeting: The budget was not sufficient to cover expenses and procedures for disbursement of funds was made difficult. | - |
dc.format.extent | 410185 bytes | - |
dc.format.extent | 532258 bytes | - |
dc.format.extent | 1290306 bytes | - |
dc.format.extent | 322666 bytes | - |
dc.format.extent | 1471109 bytes | - |
dc.format.extent | 883459 bytes | - |
dc.format.extent | 871657 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | กลุ่มโรงเรียนมัธยมศึกษา -- การบริหาร | en |
dc.subject | โรงเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- การบริหาร | en |
dc.subject | การประสานงาน | en |
dc.subject | การมอบหมายงาน | en |
dc.subject | การติดตามผล | en |
dc.subject | การวางแผน | en |
dc.subject | ความร่วมมือ | en |
dc.title | กระบวนการบริหารงานกลุ่มโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา ในส่วนภูมิภาค | en |
dc.title.alternative | Administrative process of the regional secondary school cluster under the Department of General Education | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | บริหารการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Noppong.b@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Naiyana_Th_front.pdf | 400.57 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Naiyana_Th_ch1.pdf | 519.78 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Naiyana_Th_ch2.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Naiyana_Th_ch3.pdf | 315.1 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Naiyana_Th_ch4.pdf | 1.44 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Naiyana_Th_ch5.pdf | 862.75 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Naiyana_Th_back.pdf | 851.23 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.