Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19884
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุธี พลพงษ์-
dc.contributor.advisorขวัญเรือน กิติวัฒน์-
dc.contributor.authorระพีภัทร ดิสถาพร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-05-26T14:58:18Z-
dc.date.available2012-05-26T14:58:18Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19884-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractศึกษาลักษณะเนื้อหาข่าวและรูปแบบในการนำเสนอข่าวของสถานีวิทยุกระจายเสียง ภายใต้เหตุการณ์ความขัดแย้ง และศึกษาปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่อการตัดสินใจในการนำเสนอข่าวของสถานีวิทยุกระจายเสียง ภายใต้เหตุการณ์ความขัดแย้ง ช่วงเมษายน พ.ศ. 2552 ซึ่งผู้วิจัยเลือกที่จะศึกษาสถานีวิทยุกระจายเสียงในเครือกองทัพบกเป็นเป้าหมายหลัก โดยอาศัยแนวคิดเรื่องการข่าวของทหาร การสร้างความหมายและความสำคัญของข่าว แนวคิดเกี่ยวกับกรอบแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคม และแนวคิดเรื่องวิทยุกระจายเสียง ซึ่งประกอบด้วย รูปแบบการรายงานข่าววิทยุกระจายเสียง และแนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างระบบวิทยุกระจายเสียงของกองทัพบก มีขอบเขตการวิจัย ตั้งแต่วันที่ 13 เมษายน จนถึงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2552 เป็นระยะเวลาทั้งสิ้น 10 วัน จากการศึกษาโดยการวิเคราะห์เนื้อหาข่าว ประกอบกับการสัมภาษณ์ผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอข่าวของสถานีวิทยุกระจายเสียงในเครือกองทัพบก พบว่า รูปแบบในการนำเสนอข่าวของสถานีวิทยุกระจายเสียงในเครือกองทัพบก จะมีรูปแบบที่มีความเป็นทางการและนำเสนอข่าวจะเป็นลักษณะตรง จะไม่นำเสนอความคิดเห็นของสถานีลงไป แต่จะมีการกล่าวอ้างถึงบทวิเคราะห์ หรือความคิดเห็นจากสำนักข่าวต่างประเทศประกอบแทน ซึ่งเหตุผลหลักนั้นเกิดมาจากปัจจัยของกองทัพบกที่มีนโยบายหลักคือ การนำเสนอความจริง สร้างความเข้าใจกับประชาชน และลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ให้เร็วที่สุด แต่จะตองแสดงเจตนาวางตัวเป็นกลางอยู่ตลอดเวลา ซึ่งส่งผลให้จำกัดขอบเขตของรูปแบบการนำเสนอข่าวเอาไว้ และถูกควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด ส่งผลให้การนำเสนอข่าวมีข้อจำกัดen
dc.description.abstractalternativeTo study the characteristic of content and presentation of radio stations on the case of Thailand’s political conflict during April 2009 by choosing Royal Thai Army’s radio stations as the main radio station to study by using information operation of army theory, meaning and important of news, framing, social responsibility theory. Furthermore radio broadcast system has been used as a characteristic of radio news presentation and structure of Thai Army Radio Broadcast system. Scope of this research is during the 13 April to 22 April 2009, 10 days in total. According to the study by analyze content and interview officers working on the related organization, the researcher found that the news presentation of Royal Thai Army’s radio did not utilize any special techniques to attract an audience and did not give any opinion of station in any news when presented but refer to others media opinion instead. The main reason of this characteristic came from organization policy factors that present fact, make people understand and decrease conflict but must be neutral. Whereas the organization policy makes presentation limited.en
dc.format.extent1665390 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1063-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสื่อข่าวและการเขียนข่าว -- ไทย-
dc.subjectข่าว -- แง่การเมือง -- ไทย-
dc.subjectความขัดแย้งทางการเมือง-
dc.titleการนำเสนอข้อมูลข่าวเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง ในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552 ของสถานีวิทยุกระจายเสียงในเครือกองทัพบกen
dc.title.alternativeThe news presentation reported by Royal Thai Army’s radio stations on the case of Tthailand’s political conflict during April 2009en
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSutee.P@chula.ac.th-
dc.email.advisorKwanruen.K@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1063-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rapeepat_di.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.