Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20125
Title: Effect of extrusion conditions on physical properties of pipe grade high density polyethylene compound
Other Titles: ผลของภาวะหลอมอัดรีดต่อสมบัติทางกายภาพของคอมพาว์พอลิเอลีนความหนาแน่นสูงเกรดท่อ
Authors: Arkom Paso
Advisors: Pattarapan Prasassarakich
Strauss, Roman Helmuth Adam
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: Pattarapan.P@Chula.ac.th
No information provided
Subjects: Polyethylene
Extrusion process
Issue Date: 2008
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The effects of extrusion conditions on physical properties of high density polyethylene (HDPE) compound for pressurized pipe application were studied. For extrusion of HDPE with typical bimodal molecular weight distribution, the studied variables were extrusion temperature profile, feed rate and screw speed as well as screw configurations. The physical properties of HDPE compound, full notch creep test (FNCT) for evaluating slow cracking growth (SCG) resistance, impact resistance, white spot area and morphological analyses for evaluating gel dispersion, and oxidative induction time (OIT) for evaluating thermal stability were investigated. For extrusion of bimodal high density polyethylene pipe grade compound, the barrel temperature of 200℃ and an optimized screw configuration were found appropriate. The decrease in material feed rate resulted in an increase in SCG resistance and impact energy of high pressure pipe. The higher barrel temperature (240℃) promoted the degradation leading to the decrease in OIT and impact resistance of HDPE pipe. However, the screw speed had no significant effect on the physical properties of high pressure pipe.
Other Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลของภาวะการหลอมอัดรีดต่อสมบัติกายภาพของคอมพาวด์พอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูงในงานทำท่อความดันสูง โดยเฉพาะการหลอมอัดรีดของพอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูงที่มีการกระจายตัวของน้ำหนักโมเลกุลแบบสองโหมด ซึ่งมีตัวแปรที่ศึกษาคือ การปรับเปลี่ยนอุณหภูมิกระบอกของสกรูในการหลอมอัดรีด (temperature profile) อัตราการเติมตัวอย่าง (sample feed rate) ความเร็วของสกรูในขณะการหลอมอัดรีด (screw speed) รวมถึงรูปแบบของเกลียวหนอนของสกรู (screw configuration) โดยศึกษาสมบัติทางกายภาพของคอมพาวด์พอลิเอทิลีน ซึ่งทดสอบการยืดหลังจากบากชิ้นงานสำหรับการประเมินการทนแรงกระแทกแบบหน่วงช้า (SCG) ทดสอบการทนแรงกระแทก ตลอดจนพื้นที่จุดขาวและการวิเคราะห์สัณฐานการกระจายตัวของจุดขาว และการทนทานต่อการออกซิเดชัน (OIT) เพื่อการทดสอบการทนทานเชิงความความร้อน โดยพบว่าการหลอมอัดรีดของพอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูงที่มีการกระจายตัวของน้ำหนักโมเลกุลแบบสองโหมด ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผลการจัดเรียงเกลียวหนอนของสกรูที่เหมาะสมที่อุณหภูมิการตั้งอุณหภูมิกระบอกสกรูที่ 200 องศาเซลเซียส และอัตราการเติมตัวอย่างที่ต่ำลงจะทำให้สมบัติ เชิงกลทั้งด้านความแข็ง/เหนียว และการทนแรงกระแทกแบบทันที มีค่าสูงขึ้น และ พบว่าที่ภาวะที่อุณหภูมิของกระบอกสกรูที่ 240 องศาเซลเซียสการหลอมอัดรีดที่อุณหภูมิสูงเหนี่ยวนำให้เกิดการเสื่อมสภาพ ทำให้สมบัติการทนสภาพเชิงความร้อนและการทนแรงกระแทกของท่อความดันสูงมีค่าลดลง อย่างไรก็ตาม งานวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึง อัตราการขับของสกรูไม่มีผลเป็นนัยสำคัญต่อสมบัติทางกายภาพของท่อความดันสูง
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2008
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemistry and Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20125
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1896
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2008.1896
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Arkom_pa.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.