Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20831
Title: การนำเครื่องกรองไร้ออกซิเจนที่มีตัวกลางเต็มถัง และครึ่งถังมาประยุกต์ใช้กับน้ำเสียที่มีความเข้มข้นต่ำ
Other Titles: Application of a filled-up and a half-filled anaerobic filters for low strength wastewater
Authors: พิพัฒน์ ชื่นชมชาติ
Advisors: มั่นสิน ตัณฑุลเวศม์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: น้ำเสีย -- การบำบัด -- การกรอง
เครื่องกรองและการกรอง
ปฏิกริยาออกซิเดชัน -- รีดักชัน
Issue Date: 2529
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ความมุ่งหมายในการศึกษางานวิจัยนี้เพื่อ นำเอาระบบเครื่องกรองแบบไร้ออกซิเจนมาใช้กับน้ำเสียที่มีความเข้มข้นต่ำ ในลักษณะที่มีการเปรียบเทียบสมรรถนะการทำงานระหว่างเครื่องกรองที่มีการวางชั้นตัวกลางเต็มถัง กับเครื่องกรองที่มีการวางชั้นตัวกลางครึ่งถังลอยโดยทดลองกับน้ำเสียสังเคราะห์ที่มีความเข้มข้นซีโอดีคงที่ที่ 300 มก./ล. ภายใต้ระยะเวลากักเก็บน้ำ 4 ระดับ คือ 3. 8. 9 และ 12 ชม. ซึ่งจะมีค่าออร์แกนิคโหลดดิง 1.85 0.62 0.93 และ 0.46 ซีโอดี/〖ม.〗^3-วัน ตามลำดับ จากงานวิจัยแสดงให้เห็นว่า มีความเป็นไปได้ที่จะนำเอาเครื่องกรองไร้ออกซิเจนมาใช้บำบัดน้ำเสียที่มีความเข้มข้นต่ำ โดยที่เครื่องกรองที่มีตัวกลางครึ่งถังลอยมีสมรรถนะเหนือกว่าเครื่องกรองที่มีตัวกลางเต็มถังเล็กน้อย จากผลการทดลองพอสรุปได้ว่า เครื่องกรองทั้งสองมีประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดีในน้ำเสียสังเคราะห์ได้ 50-92% ที่ระยะเวลากักเก็บน้ำ 3-12 ชม. โดยมีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดีสูงสุดที่ระยะเวลากักเก็บน้ำ 12 ชม. ซึ่งมีอัตราการผลิตก๊าซมีเทนได้ 0.069 ลิตร/กรัมซีโอดีที่ถูกจำกัด ก๊าซชีวภาพจะประกอบด้วยก๊าซไนโตรเจน 45% ก๊าซมีเทน 47% ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 8%
Other Abstract: The aim of this study was to apply anaerobic filter to treat low strength wastewater, by comparing the performances of filled-up media anaerobic filter to half-filled suspended media one. The expe¬riments were applied to treat synthetic waste which had fixed COD concentration to 300 mg/1 and treated under four hydraulic retention times, ie. 3, 6, 9 and 12 hours at organic loadings of 1.85, 0.62, 0.93 and 0.46 kg COD/m3/day respectively. From this research, it revealed that the anaerobic filter was a promising candidate for treatment of low strength wastewater. Furthermore this experiment showed that the performances of the half-filled filter were over than the filled-up one. It could be concluded from the experimental results that the COD removal efficiencies were around 50-92% at retention times of 3 to 12 hours. The maximum efficiency of COD removed was at 12 hours hydraulic retention time and the methane production was 0.096 1/gm - COD removed. Gas composition are averaged of 45% nitrogen, 47%methane and 8% carbon dioxide.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมสุขาภิบาล
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20831
ISBN: 9745663778
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pipat_Ch_front.pdf336.09 kBAdobe PDFView/Open
Pipat_Ch_ch1.pdf326.23 kBAdobe PDFView/Open
Pipat_Ch_ch2.pdf211.93 kBAdobe PDFView/Open
Pipat_Ch_ch3.pdf720.84 kBAdobe PDFView/Open
Pipat_Ch_ch4.pdf514.23 kBAdobe PDFView/Open
Pipat_Ch_ch5.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
Pipat_Ch_ch6.pdf231 kBAdobe PDFView/Open
Pipat_Ch_ch7.pdf216 kBAdobe PDFView/Open
Pipat_Ch_back.pdf563.58 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.