Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21009
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจันทร์เพ็ญ เชื้อพานิช-
dc.contributor.authorวรรณดี วรรณศิลป์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-07-18T14:58:52Z-
dc.date.available2012-07-18T14:58:52Z-
dc.date.issued2523-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21009-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างความสามรถในการแก้ปัญหากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาระหว่างนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ กลุ่มตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2522 ในโรงเรียนรัฐบาลสังกัดกรมสามัญศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวน 310 คน การวิเคราะห์ข้อมูล นำข้อมูลเกี่ยวกับความสามรถในการแก้ปัญหาซึ่งได้จากแบบทดสอบการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนซึ่งได้จากระดับคะแนนผลการสอบประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2522 มาหาความสัมพันธ์โดยใช้สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และเปรียบเทียบความสามรถในการแก้ปัญหาระหว่างนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำโดยการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 ความสามรถในการแก้ปัญหามีความสัมพันธ์ในทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลการทดสอบค่าที พบว่า คะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to investigate the relationship between problem solving ability and academic Achievement of Mathayom Suksa Two students and to compare problem solving ability between students with the high and the low academic achievement scores. Subjects were 310 Mathayom Suksa Two students in the 1979 academic year from public schools in Bangkok. The Problem Solving Test was administered to the subjects. Students' first term academic achievement scores in the 1979 academic year was used as the independent variable. The, obtained data was analyzed by using Pearson's Product Moment Correlation, and the t-test. The results indicated that at the level of 0.01 there were significant positive correlations between student's problem solving ability and their academic achievement scores. It was also found that there were significant differences in problem solving ability scores at the 0.01 level between the high and the low academic achievement students.-
dc.format.extent340405 bytes-
dc.format.extent403658 bytes-
dc.format.extent1198032 bytes-
dc.format.extent376334 bytes-
dc.format.extent318786 bytes-
dc.format.extent454305 bytes-
dc.format.extent874798 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนักเรียน -- วิจัยen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการแก้ปัญหา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2en
dc.title.alternativeRelationship between problem solving ability and academic achievement of mathayom suksa two studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wandee_Wa_front.pdf332.43 kBAdobe PDFView/Open
Wandee_Wa_ch1.pdf394.2 kBAdobe PDFView/Open
Wandee_Wa_ch2.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open
Wandee_Wa_ch3.pdf367.51 kBAdobe PDFView/Open
Wandee_Wa_ch4.pdf311.31 kBAdobe PDFView/Open
Wandee_Wa_ch5.pdf443.66 kBAdobe PDFView/Open
Wandee_Wa_back.pdf854.29 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.