Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21149
Title: | Characteristics of activated carbon derived from rice bran residues and its application as a catalyst support |
Other Titles: | คุณลักษณะของถ่านกัมมันต์ที่ได้จากกากของรำข้าวและการประยุกต์ใช้เป็นตัวรองรับของตัวเร่งปฏิกิริยา |
Authors: | Benjapol Niticharoenwong |
Advisors: | Bunjerd Jongsomjit |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Advisor's Email: | Bunjerd.J@chula.ac.th |
Subjects: | Carbon, Activated Cobalt Rice bran Hydrogenation Cobalt catalysts |
Issue Date: | 2010 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | This research focuses on investigation of the characteristics of activated carbons from deoil rice bran by using chemical activation (ZnCl[subscript 2] and H[subscript 3]PO[subscript 4] as activating agent) at different temperatures and performance of activated carbon used as catalyst support for cobalt catalyst in CO[subscript 2] hydrogenation. It was found that the high surface area of activated carbon obtains from rice bran residues can be achieved by using chemical activation that the ZnCl[subscript 2] activation, which was higher than that obtained by H[subscript 3]PO[subscript 4] activation. In addition, the activated carbons for both H[subscript 3]PO[subscript 4] and ZnCl[subscript 2] activations exhibited a combination of mostly microporous and partly mesoporous structure. Then, these activated carbons were used as catalyst support for cobalt catalyst in CO[subscript 2] hydrogenation. It was found that the performance obtained from using these activated carbons as supports of Co catalysts are poor probably due to amounts of sulfur impurity left from using H[subscript 2]SO[subscript 4] for treating at the beginning for preparation of activated carbon. |
Other Abstract: | ศึกษาเกี่ยวกับคุณลักษณะของถ่านกัมมันต์ที่ได้จากกากของรำข้าวโดยใช้วิธีการกระตุ้นด้วยสารเคมี (ซิงก์คลอไรด์และฟอสฟอริก แอซิดเป็นสารกระตุ้น) ที่อุณหภูมิต่างๆ และศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิภาพของการใช้ถ่านกัมมันต์เป็นตัวรองรับของตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลค์ ในปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันของคาร์บอนไดออกไซด์ จากการทดลองพบว่า ถ่านกัมมันต์ที่ได้จากกากของรำข้าวโดยใช้วิธีการกระตุ้นด้วยสารเคมีให้พื้นที่ผิวจำเพาะสูง เมื่อเปรียบเทียบผลระหว่างสารกระตุ้น พบว่า การใช้ซิงก์คลอไรด์เป็นสารกระตุ้นให้พื้นที่ผิวจำเพาะสูงกว่าการใช้ฟอสฟอริก แอซิดเป็นสารกระตุ้น นอกจากนี้ถ่านกัมมันต์ที่ได้จากการกระตุ้นด้วยสารเคมียังแสดงลักษณะรูพรุนแบบไมโครพอร์รัล (ขนาดรูพรุนเล็กกว่า 2 นาโนเมตร) เป็นส่วนมากและแบบมีโซพอร์รัล (ขนาดรูพรุนอยู่ระหว่าง 2 ถึง 50 นาโนเมตร) เพียงบางส่วน เมื่อนำถ่านกัมมันต์เหล่านี้ไปใช้เป็นตัวรองรับของตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลค์ ในปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันของคาร์บอนไดออกไซด์ พบว่าประสิทธิภาพของการใช้ถ่านกัมมันต์เป็นตัวรองรับของตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลค์ค่อนข้างต่ำ อาจจะเนื่องมาจากสิ่งเจือปนซึ่งตกค้างอยู่บนถ่านกัมมันต์ นั่นคือ ซัลเฟอร์ |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2010 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Chemical Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21149 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.18 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2010.18 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Benjapol_ni.pdf | 2.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.