Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21322
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิราภรณ์ ธนียวัน-
dc.contributor.advisorสุเทพ ธนียวัน-
dc.contributor.authorสายทิพย์ เรืองมา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-08-05T10:38:00Z-
dc.date.available2012-08-05T10:38:00Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21322-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractการคัดเลือกแบคทีเรียที่ผลิตไบโอพอลิเมอร์จากแหล่งอาหารหมักต่าง ๆ ในประเทศไทยทั้งหมด 102 ตัวอย่าง คัดแยกแบคทีเรียที่สามารถผลิตไบโอพอมิเมอร์สูงสุด คือ แบคทีเรียสายพันธุ์ BA 13-0-1 จากเต้าหู้ยี้ ตลาดบางซื่อ กรุงเทพฯ โดยแบคทีเรียสายพันธุ์ BA 13-0-1 สามารถผลิตไบโอพอลิเมอร์ได้ปริมาณสูงสุดเมื่อเลี้ยงในอาหารเหลวปรับปรุงสูตร โดยปรับค่าความเป็นกรดเบสของอาหารเลี้ยงเชื้อเริ่มต้นเท่ากับ 7.5 ปริมาณเชื้อเริ่มต้นเท่ากับ 8% และเติมโมโนโซเดียมกลูตาเมตเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในชั่วโมงที่ 10 ของการเลี้ยงเชื้อ บนเครื่องเขย่าด้วยอัตราเร็ว 200 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิ 30 ซ เป็นเวลา 42 ชั่วโมง พบว่าจากภาวะดังกล่าวสามารถผลิตไบโอพอลิเมอร์ได้เท่ากับ 25.013 กรัมต่อลิตร นำไบโอพอลิเมอร์ที่ได้ทำบริสุทธิ์บางส่วน เมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของไบโอพอลิเมอร์โดยใช้ Analytical TLC พบว่ามีส่วนประกอบเพียง 1 ส่วนที่มีค่าคงที่ของอัตราส่วนการเคลื่อนที่เท่ากับ 0.5 ซึ่งตรงกับกรดแอลกลูตามิกและโมโนโซเดียากลูตาเมตที่เป็นสารมาตรฐาน และเมื่อนำไปวิเคราะห์องค์ประกอบด้วย HPLC ก็พบว่ามีกลูตาเมตเพียงชนิดเดียว โครงสร้างไบโอพอลิเมอร์ที่ได้จาก FT-IR มีค่าลำดับส่วนในช่วง 1638.10-3435.67 ต่อเซนติเมตร ซึ่งเป็นค่าของ y-PGA และเมื่อวิเคราะห์โดย SDS-PAGE ไบโอพอลิเมอร์ที่ผลิตได้มีน้ำหนักโมเลกุลมากกว่า 209,000 ดาลตัน และมีสมบัติเป็นประจุลบ เมื่อจำแนกสายพันธุ์ BA 13-0-1 ทางสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยา การทดสอบทางชีวเคมี และลำดับนิวคลีโอไทด์บริเวณ 16S rDNA พบว่าน่าจะเป็น Bacillus amyloliquefaciens.en
dc.description.abstractalternativeIn an attempt to obtain biopolymer producing-bacteria, one hundred and two bacteria samples were isolated from various fermented foods in Thailand. Among these, a strain designated BA 13-0-1, isolated from fermented tofu at Bang-Sue, Bangkok province gave the highest biopolymer product. Suitable medium and conditions for bacterial growth at pH 7.5 30C with 200 rpm-shaking for 42 hours and adding monosodium glutamate at 10 hour of production time obtained polymer at 25.013 g/L. Characterization of biopolymer upon acid hydrolysis by TLC and HPLC indicated a homopolymer in nature consisted solely of glutamate. FT-IR chromatogram showed that characteristic band at 1638.10-3435.67 cm-1 for y-PGA. SDS-PAGE revealed its respective high molecular weight biopolymer and net anionic charged. Taxonomic studies via its morphological, biochemical and 16S rDNA characteristics indicated strain BA 13-0-1 is closed related to Bacillus amyloliquefaciens.en
dc.format.extent10340533 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.2091-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโพลิเมอร์ชีวภาพen
dc.subjectแบคทีเรียen
dc.subjectเต้าหู้en
dc.titleการคัดแยกแบคทีเรียที่สามารถผลิตไบโอพอลิเมอร์และลักษณะสมบัติของไบโอพอลิเมอร์en
dc.title.alternativeIsolation of biopolymer-producing bacteria and characterization of the biopolymeren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorjiraporn.Th@chula.ac.th-
dc.email.advisorSuthep.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.2091-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
saitip_ru.pdf10.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.