Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21555
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกษมศักดิ์ ภูมิศรีแก้ว-
dc.contributor.authorวีรวรรณ ดำสัมฤทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-08-18T17:05:36Z-
dc.date.available2012-08-18T17:05:36Z-
dc.date.issued2517-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21555-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษา ผลการบันทึกความเห็นของครูที่มีต่อคะแนนสอบของนักเรียนในครั้งต่อไป เพื่อจะดูว่า 1) การบันทึกความเห็นของครูจะมีผลให้นักเรียนทำคะแนนสอบได้แตกต่างกันหรือไม่ 2) คะแนนสอบของนักเรียนในกลุ่มที่ได้รับการบันทึกความเห็นจะมีความสัมพันธ์กับคะแนนความเชื่อแบบเชื่ออำนาจภายใน – ภายนอกตน หรือไม่ สมมติฐานของการวิจัย คือ 1) นักเรียนในกลุ่มที่ได้รับการบันทึกความเห็นที่พิจารณาจากความคาดหวังจะทำคะแนนสอบได้ดีกว่านักเรียนในกลุ่มที่ได้รับการบันทึกความเห็นแบบพิจารณาจากเกรด และไม่ได้รับความเห็น 2) ในกลุ่มที่ได้รับการบันทึกความเห็น คะแนนสอบจะมีความสัมพันธ์กับคะแนนความเชื่อแบบเชื่ออำนาจภายใน – ภายนอกตน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชาย หญิง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เลือกเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 21 ของโรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย จังหวัดขอนแก่น จำนวน 93 คน ผู้วิจัยแบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น 3 กลุ่ม เพื่อทดลองตามลักษณะ คือ 1) ไม่บันทึกความเห็น 2) บันทึกความเห็นแบบพิจารณาจากเกรด 3) บันทึกความเห็นแบบพิจารณาจากความคาดหวัง โดยให้แต่ละกลุ่มมีมัชฌิมเลขคณิตของคะแนนสอบครั้งแรกเท่าๆ กัน ให้นักเรียนตอบแบบสอบถามความเชื่อแบบเชื่ออำนาจภายใน – ภายนอกตน หลังจากทดสอบสัมฤทธิผลครั้งที่ 2 ผ่านไป 1 สัปดาห์ ผลการบันทึกความเห็น พิจารณาจากคะแนนสอบที่นักเรียนแต่ละคนทำได้จากการทดสอบครั้งที่สอง การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนชั้นเดียวและสองชั้น หาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนในกลุ่มที่ไม่ได้รับการบันทึกความเห็นและกลุ่มที่ได้รับการบันทึกความเห็นแบบพิจารณาจากเกรด และพิจารณาจากความคาดหวัง ทำคะแนนสอบได้ไม่ต่างกัน 2) ในกลุ่มที่ได้รับการบันทึกความเห็น คะแนนสอบไม่มีความสัมพันธ์กับคะแนนความเชื่อแบบเชื่ออำนาจภายใน – ภายนอกตน-
dc.description.abstractalternativeThe primary purpose of this study was to investigate the influence of written teacher comments on achievement test scores. Specific questions investigated were : 1) Do the subjects who receive differential teacher comments perform differently in the following tests? 2) Are the achievement test scores related to the control of reinforcement orientation? It was hypothesized that : 1) Students who receive written teacher comments that incorporate their grade expectations perform significantly better on a following test than students who receive written teacher comments without regard to their grade expectations. 2) Under teacher comment conditions, a significant correlation exists between student test scores and control of reinforcement orientation The subjects were ninety three boys and girls in Matayom Suksa II who registered for Science 21 at Kaenakorn Wittayalai School in Khonkaen Province. They were divided into three groups : 1) no comment group, 2) specified comment with grade considered group, 3) specified comment with students’ grade expectations considered group. The effects of the three treatments were judged by the scores achieved on the following test. The Internal – External Locus Control of reinforcement scale (I – E scale) was administered to the subjects one week later. Data were analyzed employing one way analysis of variance, two way analysis of variance, correlation coefficient and chisquare. Results indicated that : 1) There was no difference in acheivement test scores among the no comment group the specified comment with grade group and the specified comment with students’ grade expectations group. 2) There was no correlation between I – E scores and the test scores of all groups.-
dc.format.extent455385 bytes-
dc.format.extent1278588 bytes-
dc.format.extent655293 bytes-
dc.format.extent555032 bytes-
dc.format.extent645089 bytes-
dc.format.extent377089 bytes-
dc.format.extent843349 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสอน-
dc.titleความคาดหวังของนักเรียนและความเห็นของครู ต่อผลการสอนในครั้งต่อไปen
dc.title.alternativeStudents' grade expectations and teacher comments : effects on the following testen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Viravan_Do_front.pdf444.71 kBAdobe PDFView/Open
Viravan_Do_ch1.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open
Viravan_Do_ch2.pdf639.93 kBAdobe PDFView/Open
Viravan_Do_ch3.pdf542.02 kBAdobe PDFView/Open
Viravan_Do_ch4.pdf629.97 kBAdobe PDFView/Open
Viravan_Do_ch5.pdf368.25 kBAdobe PDFView/Open
Viravan_Do_back.pdf823.58 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.