Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2187
Title: ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์เพื่อวิเคราะห์ความเค้น เนื่องจากอุณหภูมิ : รายงานผลการวิจัย
Other Titles: Finite element method for analysis of thermal stress problems
Authors: ปราโมทย์ เดชะอำไพ
Email: fmepdc@eng.chula.ac.th, Pramote.D@Chula.ac.th
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
Subjects: ไฟไนต์เอลิเมนต์
ความเครียดและความเค้น
Issue Date: 2541
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: โครงการวิจัยนี้ แสดงการประดิษฐ์สมการไฟไนต์เอลิเมนต์สำหรับปัญหาของแข็งที่มีความยืดหยุ่นอย่างเป็นขั้นเป็นตอน โดยเริ่มจากปัญหาในหนึ่งมิติซึ่งเป็นการวิเคราะห์การเสียรูปของแผ่นวงแหวนบางที่มีการกระจายของอุณหภูมิในแนวรัศมี ปัญหาในสองมิติซึ่งเป็นการวิเคราะห์การเสียรูปและความเค้นของปัญหาของแข็งในสามมิติซึ่งมีเป้าหมายหลักคือการนำไปวิเคราะห์ใบพัดกังหันไอน้ำรูปทรงตันทั่วไป ที่ทำงานภายใต้ความดัน อุณหภูมิ และแรงเหวี่ยงรอบตัวเองสูง สมการไฟไนต์เอลิเมนต์สำหรับปัญหาในหนึ่งมิติ สองมิติ และสามมิติดังกล่าวนี้ ได้ประดิษฐ์ขึ้นโดยการประยุกต์ระเบียบวิธีถ่วงน้ำหนักเศษตกค้างของกัลเลอร์คินเข้ากับระบบสมการเชิงอนุพันธุ์ซึ่งแสดงความสมดุลของแต่ละปัญหา ตลอดจนได้ประดิษฐ์ไฟไนต์เอลิเมนต์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สอดคล้องกันขึ้น โปรแกรมคอมพิวเตอร์เหล่านี้ได้การตรวจสอบความถูกต้องกับปัญหาที่มีรูปร่างอย่างง่ายซึ่งสามารถหาผลเฉลยแม่นตรงได้ ก่อนนำไปประยุกต์ใช้วิเคราะปัญหาที่มีรูปร่างซับซ้อนมากยิ่งขึ้นไป
Other Abstract: This research project describes the finite element method for solving elastic solid problems, step by step in details. The project starts from one-dimensional problem for deformation analysis of annular flat plate with radial temperature distribution. The two-dimensional problem for deformation and thermal stress analysis of axisymmetric configuration. And finally, the three-dimensional problem for solving deformation and thermal stresses of turbine blades operated under high pressure, temperature, and centrifugal force. Finite element equations for three one, two, and three-dimensional problems have been derived using the Galerkin method of weighted residuals. The corresponding computer problems have also been developed. These programs have been verified by using a number of example problems that have exact solutions before applying to solve more realistic problems with complex configuration.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2187
Type: Technical Report
Appears in Collections:Eng - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pramote(fin).pdf5.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.