Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2217
Title: | ต้นแบบเครื่องตรวจสภาพการฝังอัญมณีบนตัวเรือนแหวน : รายงานวิจัย |
Other Titles: | Inspection prototype for jewelry setting on the ring |
Authors: | จิตรา รู้กิจการพานิช พิพัฒน์ ไพศาลภาณุมาศ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ ไม่มีข้อมูล |
Subjects: | ไมโครคอนโทรลเลอร์ อัญมณี แหวน วงจรไฟฟ้า |
Issue Date: | 2545 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การศึกษานี้ได้ทำการสร้างต้นแบบสำหรับการตรวจสภาพการฝังอัญมณีบนตัวเรือนแหวน โดยการทำทฤษฎีต่าง ๆ ได้แก่ คลื่น ความถี่ เสียง ไมโครคอนโทรลเลอร์ และวงจรไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ เป็นต้น มาประยุกต์ในการออกแบบและสร้างต้นแบบ โดยมีหลักการทำงานของต้นแบบ ดังนี้ เริ่มต้นจากชุดกำเนิดความถี่จะส่งความถี่ใช้งานที่เหมาะสมไปยังอุปกรณ์กำเนิดความถี่และส่งต่อไปที่ตัวเรือนแหวน โดยในการศึกษาครั้งนี้ ความถี่ใช้งานที่เหมาะสมกับขีดความสามารถของอุปกรณ์อยู่ที่ 150 Hz เมื่อแหวนได้รับความถี่นั้นจะสั่น ถ้าพลอยที่ติดอยู่หลวมก็จะเกิดความถี่ใหม่เกิดขึ้น จากนั้นใช้อุปกรณ์ตรวจจับความถี่ทำการตรวจจับความถี่ที่เกิดขึ้นที่แหวน แล้วส่งต่อไปยังชุดกรองความถี่ เพื่อทำการกรองความถี่ให้เหลือแต่ความถี่ที่แสดงสภาพการฝังอัญมณีว่าดีหรือไม่ (75-750 Hz) ส่วนชุดขยายสัญญาณจะทำการขยายสัญญาณให้สูงขึ้น แล้งส่งต่อไปยังชุดไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อประมวลผลและแสดงผลการติดตั้งอัญมณีบนตัวเรือนแหวน ในการสร้างแต่ละส่วนประกอบได้มีการทดลองเพื่อหาค่าความต้านทาน ค่าความเก็บประจุ อัตราขยายของชุดขยายสัญญาณรวมทั้งช่วงความถี่ใช้งานที่เหมาะสม ในการศึกษานี้ ได้ทำการทดสอบการทำงานของต้นแบบกับการทำงานจริงในโรงงานผลิตเครื่องประดับ |
Other Abstract: | The present work develops a proytotype to inspect jewelry setting on a ring. The theoretical consideration deals with topics related to wave, frequency, sound, microcontroller and electronic circuit, etc. The procedures of the study could be as; the frequency generator sends the appropriate frequency to frequency generating equipment of the prototype and then passes it to rings. The appropriate frequency for this prototype is 150 Hz. When a ring receives the frequency, it will shake. If the jewelry setting is not good, the new frequency will be generated. Then the sensor is used to detect the frequency. The filter is used to screen the frequency band. The desired frequency band (between 75-750 Hz) can identify the status of the jewelry setting. Then the frequency band is send to the amplifier, micro-controller, respectively. The display of the prototype will present the status of jewelry setting on the ring. For this study, several experiments to find the appropriate characteristics of the circuit and equipment were conducted. This prototype was also tested its functions in the jewelry factory. |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2217 |
Type: | Technical Report |
Appears in Collections: | Eng - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Jittra(ins).pdf | 15.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.