Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23002
Title: L'etude analytique sur Un Amour de Swann de Marcel Proust
Other Titles: การศึกษาเชิงวิเคราะห์นวนิยายเรื่อง อัง นามูร์ เดอ สวาน ของ มาร์แซล พรูสท์
Authors: Panni Soponemani
Advisors: Sodchuen Chaiprasathna
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Subjects: Proust, Marcel, 1871-1922. Amour de Swann -- Criticism and interpretation
French fiction -- History and criticism
พรูสท์, มาร์แซล -- การวิจารณ์และการตีความ
นวนิยายฝรั่งเศส -- ประวัติและวิจารณ์
Issue Date: 1973
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: L'amour constitue l'éleraent principal dans ce récit de Proust. Le romancier analyse en détail l’état d'âme de Swann, le héros, qui tombe amoureux à Odette, une jeune femme qui fréquente le salon de Mme.Verdurin, une riche bourgeoise. Cet homme mondain est ensuite tourmenté par la jalousie, par la peur de perdre la femme aimée, et par le chagrin d'amour. Enfin il se rend bien compte que cet amour est mort pour lui et que cette "pure création de l'esprit" n'est qu’un mirage. Pendant la souffrance causée par 1 'amour et par la réalité sordide, Swann cherche un moyen de salut : il essaie de retrouver le Temps perdu, d'évoquer le souvenir du bonheur qu'il a eu dans le passé. Ainsi; à la résurrection de la ‘'mémoire involontaire", déclenchée par la musique, Swann éprouve une sorte de joie, de bonheur supra - terrestre. Par là, pendant un moment, il peut échapper aux servitudes de la durée du Temps. D'autre part, en décrivant le cadre ou le décor du récit, Proust peint et critique implicitement la société française avant la Guerre de 1914. Ce monde des salons, si longtemps cherché par l'écrivain, est jugé avec une sévérité qui, du reste, n'exclut pas l'humour. L'écrivain dépeint une galerie de types sociaux, nobles et bourgeois, en suggérant leur orgueil, leur snobisme, leur hypocrisie et même leur méchanceté. En somme, ce qui compte dans Un amour de Swann qui est "le roman dans le roman" est la présentation de l'émotion du romancier à travers le personnage principal. La phrase de Proust, "tantôt longue et sinueuse, tantôt fleurissant en rosace" crée des correspondances et parfois une sorte de pénétration en différent domaines. Les pages de Proust, marquées par le style prismatique, par la profusion des images, éclairent simultanément les aspects du monde et les profondeurs de l’âme. Chez Proust, la forme et le fond sont une unité inséparable.
Other Abstract: เนื้อเรื่องส่วนใหญ่ของนวนิยายเรื่องนี้เกี่ยวกับความรัก ผู้ประพันธ์ได้วิเคราะห์สภาพจิตของ “สวาน” ตัวเอกในเรื่องในความรักที่มีต่อ “โอแดทท์” ไว้อย่างลึกซึ้ง และ “สวาน” บุรุษเจ้าสำราญในวงสังคมชั้นสูงต้องได้รับความทรมานจิตใจจากความหึงหวงและความกลัวที่จะต้องสูญเสียหญิงที่รักไป รวมทั้งเกิดทุกข์อันเนื่องจากรัก ในที่สุด “สวาน” ก็ยอมรับกับตัวเองว่าความรักนี้ได้สลายลงแล้วโดยสิ้นเชิง ความรักเป็นเพียงสิ่งที่จิตใจของเขาเองสร้างขึ้นมาและเขาเพียงแต่หลงสมมติไปเท่านั้นเอง ระหว่างที่ได้รับทุกข์ทรมานจากความรักและความจริงที่น่ารังเกียจเกี่ยวกับ “โอแดทท์” นี้เอง “สวาน” ก็พยายามแสวงหาวิธีที่จะช่วยไถ่ทุกข์ของตนนั่นคือพยายามหายกลับไปหาอดีต โดยการระลึกถึงความสุขในอดีต ด้วยประการฉะนี้เองเมื่อท่วงทำนองเพลงอันไพเราะมากระทบความทรงจำอันแสนสุขซึ่งไม่สามารถกำหนดขึ้นเองได้นี้ให้กลับฟื้นคืนมาได้ดังเดิมทุกประการ “สวาน” จึงเอิบอาบด้วยความปิติ บังเกิดความสุขอันมีลักษณะที่สุขเหนือสิ่งอื่นใด โดยวิธีนี้และในช่วงเวลานั้นเอง “สวาน” ก็สามารถหลุดพ้นจากความเป็นทาสของกาลเวลา นอกจากนี้ ผู้ประพันธ์ยังได้วาดภาพสังคมของฝรั่งเศสก่อนสมัยสงครามโลกครั้งที่หนึ่งประกอบเนื้อเรื่องไว้ด้วย โดยแฝงการวิจารณ์ไว้อย่างแยบยล ตัวผู้ประพันธ์เองได้ใช้ชีวิตคุ้นเคยอยู่ในวงสังคมชั้นสูงของฝรั่งเศสอยู่เป็นเวลานาน การวิจารณ์อย่างแรงของเขาแนบเนียนและแฝงไว้ด้วยอารมณ์ขัน พรูสท์ได้วาดภาพบรรดาคนในชนชั้นต่างๆ ในสังคมไว้มากมายทั้งพวกชนชั้นสูงและชนชั้นกลางโดยชี้ให้เห็นความเย่อหยิ่ง, ความทนและความลุ่มหลงในยศถาบรรดาศักดิ์ ความหน้าไหว้หลังหลอกและความมีใจร้ายของชนทั้งสองชั้นนี้ กล่าวโดยสรุป สิ่งที่เด่นที่สุดในนวนิยายเรื่อง “ความรักของสวาน” นี้ซึ่งนับเป็นนิยายซ้อนนิยายอีกทีหนึ่งก็คือ การที่ผู้ประพันธ์ถ่ายทอดอารมณ์และความรู้สึกนึกคิดของเขาลงไว้นั่นเอง คำพูดของพรูสท์ “บางครั้งจะซับซ้อนวกวนและบางครั้งก็งามราวกุหลาบ” มีโครงสร้างอันแสดงถึงสัมพันธภาพและยังเกี่ยวโยงกับด้านอื่นๆ อีก ผลงานของเขาแต่ละหน้าเด่นมากในด้านศิลปะแบบแสดงภาพที่แสงตัดผ่านแท่งแก้วและหักเหให้เกิดได้หลายภาพ ทั้งยังสะท้อนทั้งโลกทรรศน์และรหัสยแห่งจิตรพร้อมกันทั้งสองด้าน ศิลปะและเนื้อหาที่ลึกซึ้งจะแยกกันมิได้เลยในงานของพรูสท์แต่จะผสมผสานกลมกลืนกันอยู่ตลอดเวลา
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 1973
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: French
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23002
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Panni_So_front.pdf398.47 kBAdobe PDFView/Open
Panni_So_ch1.pdf564.75 kBAdobe PDFView/Open
Panni_So_ch2.pdf422.15 kBAdobe PDFView/Open
Panni_So_ch3.pdf608.13 kBAdobe PDFView/Open
Panni_So_ch4.pdf680.61 kBAdobe PDFView/Open
Panni_So_ch5.pdf582.68 kBAdobe PDFView/Open
Panni_So_back.pdf322.84 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.