Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23465
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบดี ธนะมั่น
dc.contributor.advisorวิโรจน์ เจียมจรัสรังษี
dc.contributor.authorประเสริฐ จุฑา
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-08T14:14:43Z
dc.date.available2012-11-08T14:14:43Z
dc.date.issued2544
dc.identifier.isbn9742961484
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23465
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบสภาพ ปัญหา และความต้องการในการดำเนินงานสุขภาพจิตสำหรับเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาสระหว่างกลุ่มบุคลากรสาธารณสุขที่ได้รับการอบรมและไม่ได้รับการอบรม กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยบุคลากรสาธารณสุขกลุ่มที่ได้รับการอบรม 184 คน และกลุ่มที่ไม่ได้รับการอบรม 209 คน ทั่วประเทศ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามชนิดตอบเอง ระหว่างเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ 2545 ผลการวิจัย พบว่า บุคลากรสาธารณสุขกลุ่มที่ได้รับการอบรมมีสภาพการดำเนินงานสุขภาพจิตสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีปัญหาในการดำเนินการน้อยกว่า (แต่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ) ในกลุ่มที่ได้รับการอบรมภาคเหนือมีปัญหาการดำเนินงานสูงกว่าภาคอื่นๆ และในกลุ่มที่ไม่ได้อบรมภาคอิสานมีสภาพการดำเนินงานสูงที่สุด ปัจจัยที่มีผลต่อความแตกต่างของสภาพ ปัญหา และความต้องการในการดำเนินงานสุขภาพจิตประกอบด้วยเพศ อายุ อายุราชการ ระยะเวลาปฏิบัติงานสุขภาพจิต วิชาชีพ ตำแหน่ง หน่วยงาน/กลุ่มงานที่สังกัด จำนวนเตียง จำนวนบุคลากรในกลุ่มงาน/ฝ่าย จำนวนผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต จำนวน ผู้เข้ารับการอบรม การมีแผนงาน การนิเทศงาน และการสนับสนุนการดำเนินงานสุขภาพจิต จากผลการศึกษาครั้งนี้ ผู้เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานสุขภาพจิตสำหรับเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาสควรพิจารณาและนำสิ่งที่พบในการศึกษาวิจัยไปใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานเพื่อให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและมีความต่อเนื่องยั่งยืน และขณะเดียวกันควรตระหนักถึงอิทธิพลของปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย
dc.description.abstractalternativeThis 2-group cross-sectional study aimed at studying condition, problem and needs relating to the implementation of the mental health program for disabled and disadvantaged children among the trained and untrained health personnel. Data were collected by a self-administered questionnaire from 184 trained and 209 untrained health personnel throughout the country from January-February 2002. The results showed that the trained health personnel had significantly higher condition score and lower problem score (although not statistically significance) than the untrained health personnel. Among the trained personnel, those in the north of the country had the highest problem score. Among the untrained personnel, those in the northeast had the highest condition score. Factors which were statistical significantly associated with condition, problem and needs (relating to the implementation of the mental health program for disabled and disadvantaged children) included sex, age, years of service, years of work in mental health field, occupation, position, attached division and number of its personnel, number of beds or size of the agency, number of staff in mental health team, number of trained staff, presence of plan, supervision and support. In conclusion, responsible organizations should consider and use the findings from present study in improving the efficiency of the mental health program for disabled and disadvantaged children in the future.
dc.format.extent3531899 bytes
dc.format.extent3453886 bytes
dc.format.extent8928258 bytes
dc.format.extent1912568 bytes
dc.format.extent14521452 bytes
dc.format.extent3980154 bytes
dc.format.extent5925484 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleสภาพ ปัญหา และความต้องการในการดำเนินงานสุขภาพจิตสำหรับเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาสของบุคลากรสาธารณสุขที่ได้รับและไม่ได้รับการอบรมสุขภาพจิตสำหรับเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส กระทรวงสาธารณสุขen
dc.title.alternativeCondition, problem and neesa of the personnel with and without mental health training for the successful imolememtation of the ministry of public health's mental health program for the disabled and disadvantaged childrenen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเวชศาสตร์ชุมชนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prasert_ch_front.pdf3.45 MBAdobe PDFView/Open
Prasert_ch_ch1.pdf3.37 MBAdobe PDFView/Open
Prasert_ch_ch2.pdf8.72 MBAdobe PDFView/Open
Prasert_ch_ch3.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open
Prasert_ch_ch4.pdf14.18 MBAdobe PDFView/Open
Prasert_ch_ch5.pdf3.89 MBAdobe PDFView/Open
Prasert_ch_back.pdf5.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.