Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23676
Title: Synyhesis of graft copolymers of cassava starch and styrene by free-radical polymerization
Other Titles: การสังเคราะห์กราฟต์โคพอลิเมอร์ของแป้งมันสำปะหลังและสไตรีนโดยวิธีพอลิเมอไรเซซันแบบฟรีแรดิคอล
Authors: Weeradech Kiratitanavit
Advisors: Duanghathai Pentrakoon
Vimolvan Pimpan
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Issue Date: 2001
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Graft copolymers of cassava starch and styrene monomer were synthesized by free radical polymerization using benzoyl peroxide as initiator in aqueous medium. The influence of the ratio of starch and styrene monomer, the amount and purity of benzoyl peroxide, the mixing method, the reaction temperature and time were studied. In this experiment, each 5.0 g of starch and styrene monomer with 0.5 g of benzoyl peroxide, mixed and synthesized at 80℃ for 2 hours, provided 35.84 percent add-on, 95.64 percent conversion, 46.09 percent homopolystyrene formed, 53.91 percent grafting efficiency, 51.26 percent grafting ratio, and 88.08 percent yield, FT-IR was used to characterize the chemical structure of graft copolymers whereas DSC and TGA were employed to investigate the thermal properties. GPC revealed that the propagation rates of both homopolystyrene and grafted polystyrene were the same in terms of molecular weight and molecular weight distribution. Homopolystyrene beads were formed in this system via suspension polymerization and they were removed after Soxhlet extraction as presented in morphological analysis. This graft copolymer showed higher tendency to be soluble in solvents which can solubilize starch than in solvents which can solubilize polystyrene. Its percent moisture absorption was in between those ungrafted starch and polystyrene.
Other Abstract: กราฟต์โคพอลิเมอร์ของแป้งมันสำปะหลังและสไตรีนสามารถเตรียมได้ด้วยปฏิกิริยาฟรีแรดิคอลพอลิเมอไรเซซัน โดยใช้เบนโซอิลเปอร์ออกไซด์เป็นสารริเริ่มในตัวกลางที่เป็นน้ำ อิทธิพลของอัตราส่วนระหว่างแป้งกับสไตรีนมอนอเมอร์ ปริมาณและความบริสุทธิ์ของเบนโซอิลเปอร์ออกไซด์วิธีผสม อุณหภูมิและเวลาที่ใช้ในการทำปฏิกิริยาได้ถูกศึกษา โดยในการทดลองนี้พบว่าเมื่อใช้แป้งและสไตรีนมอนอเมอร์อย่างละ 5 กรัมกับเบนโซอิลเปอร์ออกไซด์ 0.5 กรัม ทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 ชั่วโมง จะได้ค่า เปอร์เซ็นต์แอดออน 35.84 เปอร์เซ็นต์ การดำเนินไปของปฏิกิริยา 95.64 เปอร์เซ็นต์ การเกิดโฮโมพอลิเมอร์ 46.09 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพในการกราฟต์ 53.91 เปอร์เซ็นต์ สัดส่วนการกราฟต์ 51.26 เปอร์เซ็นต์ และปริมาณผลิตผล 88.08 เปอร์เซ็นต์ ฟูริเออร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ได้ถูกใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างทางเคมีของกราฟต์โคพอลิเมอร์ ในขณะที่ดิฟเฟอเรนเชียลสแกนนิงคาลอริมิเตอร์และเทอร์โมกราวิเมตริกอะนาไลเซอร์ได้ถูกนำมาใช้ในการตรวจสอบสมบัติทางความร้อน จากการใช้เจลเพอร์มีเอชันโครมาโทกราฟีพบว่าอัตราในการดำเนินไปของปฏิกิริยาของโฮโมพอลิสไตรีนและกราฟต์พอลิสไตรีนมีค่าที่เหมือนกันเมื่อพิจารณาในเทอมของน้ำหนักโมเลกุลและการกระจายของน้ำหนักโมเลกุล ในส่วนของการวิเคราะห์ทางสัณฐานวิทยาพบว่า ในการทดลองนี้มีบีดของโฮโมพอลิสไตรีนเกิดขึ้นจากการพอลิเมอไรเซซันแบบแขวนลอย และเม็ดบีดได้ถูกกำจัดออกหลังจากการทำสกัดแบบซอกเลก นอกจากนี้กราฟต์โคพอลิเมอร์มีแนวโน้มที่จะละลายในตัวทำละลายที่สามารถละลายแป้งได้ดีกว่าตัวทำละลายที่ละลายพอลิสไตรีน ในขณะที่ความสามารถในการดูดซึมความชื้นของกราฟต์โคพอลิเมอร์จะอยู่ระหว่างความสามารถในการดูดซึมความชื้นของแป้งที่ไม่ได้กราฟต์และพอลิสไตรีน
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2001
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Applied Polymer Science and Textile Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23676
ISBN: 9741705964
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Weeradech_ki_front.pdf5.54 MBAdobe PDFView/Open
Weeradech_ki_ch1.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open
Weeradech_ki_ch2.pdf12.74 MBAdobe PDFView/Open
Weeradech_ki_ch3.pdf7.38 MBAdobe PDFView/Open
Weeradech_ki_ch4.pdf15.71 MBAdobe PDFView/Open
Weeradech_ki_ch5.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Weeradech_ki_back.pdf9.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.