Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23933
Title: นโยบายสิ่งแวดล้อมของประชาคมยุโรป : ศึกษาการตัดสินใจเรื่องข้อกำหนดแนวทาง ว่าด้วยการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
Other Titles: The European community's enviroument policy : a study of the decision-making on the environmental impact assessment directive
Authors: สุพิศ ต่างวิวัฒน์
Advisors: เขียน ธีระวิทย์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Subjects: ประชาคมยุโรป
การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
Issue Date: 2538
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดเน้นที่จะศึกษาว่า ประชาคมยุโรปมีวิธีการจัดการกับปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างไร ประเด็นที่ใช้ในการศึกษาคือ การอนุมัติข้อกำหนดแนวทางว่าด้วยการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของประชาคม ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า ข้อกำหนดแนวทางว่าด้วยการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมฉบับนี้และกระบวนการในการจัดการกับปัญหาสิ่งแวดล้อมของประชาคมยุโรปนั้นได้ดำเนินการโดยอาศัยวิธีการดำเนินงานแบบเหนือรัฐ สิ่งนี้เห็นได้จากบทบาทที่เด่นชัดของคณะกรรมาธิการ ซึ่งถือว่าเป็นองค์กรเหนือรัฐโดยรูปแบบ และลักษณะงาน นอกจากนี้บทบาทของคณะกรรมาธิการยังได้รับการสนับสนุนจากรัฐสภายุโรป ซึ่งมีสมาชิกเป็นตัวแทนของภูมิภาคมากกว่าเป็นตัวแทนของแต่ละรัฐสมาชิก และแม้สภารัฐมนตรีอาจจะมีอำนาจในการยับยั้งการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการในทางทฤษฎี แต่ในทางปฏิบัติสภารัฐมนตรียังคงชอบการปฏิบัติการร่วมกันในการจัดการกับปัญหาสิ่งแวดล้อมมากกว่าการปฏิบัติการโดยลำพังของแต่ละรัฐสมาชิกเอง
Other Abstract: This study focuses on how the European Community deals with the environmental problem. The adoption of the environmental impact assessment directive is used as a case study. The result of the research shows that this environmental impact assessment directive and the processes involved suggested that in dealing with the environmental issues, the European Community, then, had already adopted a supranational approach. This was revealed by the prominent roles played by the European Commission, a supranational organization by virtue of its formation and function. Its deeds were further backed up by the forum of regional representatives, not national representatives, the European Parliament. The Council of Ministers, might have a veto power in theory, but in practice it also prefered a collective effort to an individual national effort in dealing with the environmental problem.
Description: วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538
Degree Name: รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23933
ISBN: 9746322834
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supit_ta_front.pdf3.77 MBAdobe PDFView/Open
Supit_ta_ch1.pdf8.26 MBAdobe PDFView/Open
Supit_ta_ch2.pdf10.11 MBAdobe PDFView/Open
Supit_ta_ch3.pdf7.93 MBAdobe PDFView/Open
Supit_ta_ch4.pdf16.24 MBAdobe PDFView/Open
Supit_ta_ch5.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open
Supit_ta_back.pdf16.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.