Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24344
Title: Le role de l'argent dans deux oeuvres romanesques de Balzac : "Cesar Birotteau" et "Eugenie Grandet"
Other Titles: บทบาทของเงินในนวนิยายสองเรื่องของบาลซัค : "เซซาร์ บิร็อตโต" และ "เออเชนี กรองเดต์"
Authors: Vichuda Sthalanand
Advisors: Daniele Charoenloet
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Issue Date: 1985
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Dans le courant réaliste du XIXe siècle, Honoré de Balzac est sans doute le romancier qui inet en scène le mieux la domination de l'argent. Quiconque étudie " la Comédie humaine" doit en convenir. En ce qui concerne le réalisme, Balzac, dans ses romans, ne présente pas seulement des décors et des faits mais il analyse aussi des structures et ries problèmes sociaux à travers l’histoire et les réactions des personnages. Grâce à cette qualité de visionnaire, en évoquant le rôle de l’argent dans ses romans, Balzac compose ses livres moins en imaginant qu'en rendant compte du monde de référence qui l’entoure; c'est parmi ses personnages qu'il a vécu, partageant leurs activités, leurs aspirations, leurs vertus et leurs vices Notre étude cnnr. istera à étudier rlfiux romans de " Comédie humaine": Eunénie Grandet et César Birotteau dont l'intrigue romanesque est centrée sur les transactions monétaires bien que de façon différente. L'intrigue du premier consiste en l'histoire tragique d'une famille provinciale où l'amour va se heurter violemment à l'argent. Dans l'autre, l'argent a d'un bout à l'autre le premier rôle. Il s'agit de l'histoire d'un narfumeur parisien dont la vie est liée à la réussite ou vicissitudes de son commerce dès le début jusqu'à la fin dramatique. Balzac a écrit ses deux ouvrages pour étudier sous un angle socioéconomiquR la société du XIXe siècle où l'argent est devenu le Dieu moderne.
Other Abstract: ในขบวนการสัจนิยมของศตวรรษที่ 19 โอโนเร เดอ บาลซัค ย่อมเป็นนักนวนิยายผู้เขียนเรื่องเกี่ยวกับอำนาจเงินไว้ได้ดีที่สุด ใครก็ตามที่ได้อ่าน "ลา โกเมดี อูแมน" ซึ่งเป็นหนังสือรวมเรื่องของเขาจะต้องยอมรับความจริงข้อนี้ เกี่ยวกับการเขียนนวนิยายในแนวสัจจนิยม บาลซัคไม่เพียงแต่แสดงฉากและความเป็นไปของเนื้อเรื่องเท่านั้น แต่ยังได้วิเคราะห์โครงสร้างและปัญหาของสังคมในรูปของนวนิยายรวมทั้งปฎิกริยาโต้ตอบของตัวละครต่อสิ่งเหล่านั้นอีกด้วย โดยที่บาลซัคเป็นผู้รอบรู้ในความเป็นไปของสังคมในสมัยนั้นอย่างแท้จริง เขาจึงใช้จินตนาการในการเขียนน้อยกว่าการใช้ความรู้ในเรื่องราวต่างๆที่เป็นจริงของโลกรอบตัว โดยเขานั้นเองที่อยู่ท่ามกลางตัวละครเหล่านั้นและมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆของตัวละคร รวมทั้งแรงบันดาลใจในด้านที่ดีงามและในด้านที่ชั่วร้าย วิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษานวนิยายสองเรื่องใน "ลา โกเมดี อูแมน"คือ "เออเซนี กรองเดต์ " และ"เซซาร์ บิร็อตโต" ซึ่งมีโครงเรื่องอยู่ที่การเคลื่อนไหวทางการเงินที่มีลักษณะแตกต่างกันคือ เรื่องแรกนั้นเป็นเรื่องน่าเศร้าของครอบครัวในชนบทครอบครัวหนึ่งที่มีความขัดแย้งอย่างรุนแรงในเรื่องความรักและเงิน อีกเรื่องหนึ่งเนื้อเรื่องแสดงให้เห็นว่า เงินมีความสำคัญมากตั้งแต่ตอนต้นจนจบเรื่อง โดยเป็นเรื่องของพ่อค้าน้ำหอมชาวปารีสผู้หนึ่งที่มีชีวิตผูกพันอยู่กับความสำเร็จทางด้านการค้า ตั้งแต่เริ่มเรื่องจนจบลงอย่างน่าสะเทือนใจ บาลซัคเขียนนวนิยายทั้งสองเรื่องนี้เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงสภาพทางสังคมในศตวรรษที่ 19 ทางด้านเศรษฐกิจที่คนบูชาเงินเป็นพระเจ้า
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 1985
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: French
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24344
ISBN: 9745640972
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vichuda_St_front.pdf542.56 kBAdobe PDFView/Open
Vichuda_St_ch1.pdf989.98 kBAdobe PDFView/Open
Vichuda_St_ch2.pdf810.53 kBAdobe PDFView/Open
Vichuda_St_ch3.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open
Vichuda_St_back.pdf281.61 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.