Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24540
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์
dc.contributor.authorปิยวัฒน์ นนทเวชช์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-19T07:42:55Z
dc.date.available2012-11-19T07:42:55Z
dc.date.issued2545
dc.identifier.isbn9741725329
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24540
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractปัจจุบันประเทศไทยได้เห็นความสำคัญของนิทรรศการเพื่อการศึกษาสำหรับเด็กมากขึ้น จึงได้มีการจัดสร้างพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดงนิทรรศการเพื่อการศึกษาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ หากแต่สภาพของงานออกแบบเรขศิลป์ของสภาพแวดล้อมในนิทรรศการโดยส่วนมากมักจะคำนึงถึงเพียงหลักของการออกแบบเพื่อจูงใจ เช่นการใช้สีสันที่สะดุดตา หรือการเลือกใช้ตัวอักษรที่มีรูปทรงแปลกประหลาด โดยมิได้คำนึงถึงว่าการออกแบบดังกล่าวจะมีผลเสียต่อการเรียนรู้ของเด็กหรือไม่ ดร. เอดการ์ เดล (Dr. Edgar Dale) ได้ให้แนวทางในการใช้สื่อการสอนจากหนังสือ AUDIOVISUAL METHOD IN TEACHING โดยมีบางประเด็นที่ขัดแย้งกับแนวความคิดเดิมของนักออกแบบ เช่นเรื่องการออกแบบเพื่อการจูงใจนั้น จะต้องไม่เป็นเครื่องรบกวนการเรียนรู้ของเด็กเป็นต้น ซึ่งแนวทางดังกล่าวน่าจะประยุกต์ใช้กับการออกแบบเรขศิลป์ของสภาพแวดล้อมของนิทรรศการเพื่อการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับวัตถุประสงค์ของงานวิจัยชิ้นนี้มุ่งศึกษาหาแนวทางที่เหมาะสมและถูกต้องตามหลักการออกแบบเรขศิลป์ของสภาพแวดล้อม โดยใช้แนวทาง ของ เอดการ์ เดล เพื่อใช้ในการออกแบบเรขศิลป์ในนิทรรศการเพื่อการศึกษาสำหรับเด็ก การวิจัยนี้เริ่มจากการรวบรวมแนวทางการใช้สื่อการสอนของ เอดการ์ เดล และข้อมูลเรื่องการออกแบบเรขศิลป์ของสภาพแวดล้อมหรับนิทรรศการเพื่อการศึกษาทั้งหมด รวมถึงลักษณะของจิตวิทยาเด็ก แล้วจึงไปวิเคราะห์ด้วยวิธีเปรียบเทียบหาความสัมพันธ์ หลังจากนั้นจึงนำผลไปตรวจสอบกับผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งจากการสรุปผลพบว่า แนวทางดังกล่าวทำให้งานออกแบบมีลักษณะที่แตกต่างจากหลักการการออกแบบเดิมที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็ก โดยเฉพาะเรื่องการเลือกใช้สีเท่าที่จำเป็น และใช้สีน้อย นอกจากนี้ยังพบว่าข้อสรุปในส่วนอื่นๆ ช่วยให้งานออกแบบมีความเป็นเอกภาพตลอดจนมีความเป็นระบบมากขึ้น ซึ่งท้ายสุดจะเป็นการนำผลสรุปที่ได้จากการวิจัยมาทำงานออกแบบ โดยเลือกกรณีศึกษาเป็นพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นตัวอย่างและแนวทางสำหรับการออกแบบเรขศิลป์สำหรับงานนิทรรศการเพื่อการศึกษาต่อไป
dc.description.abstractalternativeAt present, Thailand has constructed more museums for educational exhibition based on the acknowledgement of the importance of exposition for children. However, the environmental graphic design only focus on the design principles to attract attention, for example using the vivid colors or using extraordinary type fonts without concerning of the negative influences on the learning process of the children. Dr. Edgar Dale provided the guidelines of using the teaching materials in his book, “AUDIOVISUAL METHOD IN TEACHING”, which some key ideas diverged from the previous of most designers, for example the extent of designing for attracting, must not interfere with the learning process of the children. This principle should be able to efficiently adapt to the environmental graphic design for educating exhibition. The objective of this research is focused on the appropriated and accepted ways of the environmental graphic design by using Dr. Edgar Dale’s philosophy to design the educational exhibition for children. This research is composed of the congregation of information from the papers of Dr. Dale, all the related information about the environmental graphic design for educating exhibition and also the psychology studies of the children aged 6-12 years old. Next, these information are categorized and analyzed by the comparison method, then, the result is submitted for the depth interview by the specialist prior to the conclusion of the research. The final result indicates that such approach has changed the previous design principles for children, particularly in the usage of color. It tends to use only needed and limited colors. In addition, there are other indications that create such harmonized and more systematic designs. Finally, there is the adaptation of the research to the actual design project which Bangkok Children Museum is selected to be the study case for future environmental graphic design education.
dc.format.extent4691184 bytes
dc.format.extent2259137 bytes
dc.format.extent12149798 bytes
dc.format.extent24179874 bytes
dc.format.extent5887615 bytes
dc.format.extent2228871 bytes
dc.format.extent9229156 bytes
dc.format.extent769619 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการออกแบบเรขศิลป์ของสภาพแวดล้อม ทางสื่อนิทรรศการเพื่อการศึกษา สำหรับ เด็อายุ 6-12 ปี โดยอาศัยแนวทางของ เอดการ์ เดล (EDGAR DALE)en
dc.title.alternativeThe environmental graphic design in the educational exhibition for the 6-12 year old children by using the method of Edgar Daleen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนฤมิตศิลป์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piyawat_no_front.pdf4.58 MBAdobe PDFView/Open
Piyawat_no_ch1.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open
Piyawat_no_ch2.pdf11.87 MBAdobe PDFView/Open
Piyawat_no_ch3.pdf23.61 MBAdobe PDFView/Open
Piyawat_no_ch4.pdf5.75 MBAdobe PDFView/Open
Piyawat_no_ch5.pdf2.18 MBAdobe PDFView/Open
Piyawat_no_ch6.pdf9.01 MBAdobe PDFView/Open
Piyawat_no_back.pdf751.58 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.