Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25307
Title: ความหลากหลายทางพันธุกรรมของเห็ดโคน Termitomyces straitus (Beeli) Heim โดยใช้ลำดับเบสไอทีเอส
Other Titles: Genetic variations of termite mushroom Termitomyces straitus (Beeli) Heim based on the its sequences
Authors: สายรัก กวางแก้ว
Advisors: มุกดา คูหิรัญ
ปิยะศักดิ์ ชอุ่มพฤกษ์
วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Issue Date: 2545
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: เห็ดโคนถูกจำแนกไว้ในสกุล Termitomyces จากการสุ่มเก็บตัวอย่างดอกเห็ดโคนจากจังหวัดต่างๆถูกนำมาจัดหมวดหมู่เพื่อให้ได้เห็ดโคนชนิด Termitomyces straitus (Beeli) Heim ทำให้ทราบว่าเห็ดโคนชนิดนี้สามารถขึ้นได้ในจังหวัดต่างๆ 5 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี นครปฐม อุทัยธานี เพชรบุรี และตาก ซึ่งจังหวัดเหล่านี้ได้ถูกคัดเลือกให้เป็นแหล่งสำหรับการเก็บตัวอย่างจำนวน 17 ตัวอย่าง นำไปเพาะเลี้ยงในอาหารแข็งสูตร PDA และอาหารเหลวสูตร PDB ทำให้ได้เส้นใยแล้วจึงนำมาสกัดดีเอ็นเอ การศึกษาดีเอ็นเอในบริเวณ ITS โดยเลือกใช้คู่ ITS primers ในการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอโดยเทคนิค PCR เมื่อนำไปวิเคราะห์หาลำดับเบสโดยเทคนิค DNA sequencing พบว่าเห็ดโคนทั้ง 17 ตัวอย่าง ได้ดีเอ็นเอขนาดประมาณ 600-700 นิวคลีโอไทด์ จากลำดับเบสที่ได้เมื่อนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบ homology ของลำดับนิวคลีโอไทด์ พบว่ามีค่าสูง 99-100 เปอร์เซ็นต์ และให้ผลการวิเคราะห์ alignment และ Phylogenetic tree สามารถแบ่งเห็ดโคนได้เป็น 2 กลุ่ม ที่มีความเด่นชัดต่างจากเห็ดโคน T. straitus ที่ได้จากประเทศอินโดนีเซีย
Other Abstract: Termite mushroom is classified in genus Termitomyces. The Termite mushroom sample collection from many province were brought to be identified for species Termitomyces striatus (Beeli) Heim. It was found that this species of mushroom could grow in many provinces. From these provinces, 17 samples were collected from 5 provinces, such as Khanchnabuti, Nakornpatom, Uthaithani, Petchaburi and Tak. The tissue of 17 samples were cultured on solid media, PDA and in liquid media, PDB for DNA extraction from mycelium. The extracted DNA from the samples were subjected to sequencing and studied on it ITS region using ITS primers. It was found that DNA sequences of among each 17 samples has 600-700 nucleotides long. Comparison on DNA sequences, revealed the homology value of 99-100%. From DNA alignment and phylogenetic analysis, relationship among termite mushroom in this study can be devided into two groups which hold different characteristic from that of Indonesia one.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: พันธุศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25307
ISBN: 9741733852
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sairak_kw_front.pdf2.53 MBAdobe PDFView/Open
Sairak_kw_ch1.pdf2.03 MBAdobe PDFView/Open
Sairak_kw_ch2.pdf5.43 MBAdobe PDFView/Open
Sairak_kw_ch3.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open
Sairak_kw_ch4.pdf17.01 MBAdobe PDFView/Open
Sairak_kw_ch5.pdf2.64 MBAdobe PDFView/Open
Sairak_kw_back.pdf6.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.