Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26177
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปวีณา เชาวลิตวงศ์-
dc.contributor.authorภาสพงศ์ อารีรักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-26T09:42:05Z-
dc.date.available2012-11-26T09:42:05Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26177-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการออกแบบระบบติดตามยานพาหนะสำหรับการขนส่ง ภายใต้เทคโนโลยีติดตามยานพาหนะ 3 แบบ คือ GPS on-line, GPS off-line และ Check-in วิธีการดำเนินงานวิจัยประกอบไปด้วยขั้นตอนการสำรวจงานขนส่งในบริษัทต่างๆ ขั้นตอนการจัดประเภทงานขนส่ง ขั้นตอนการเลือกระบบติดตามยานพาหนะ ขั้นตอนการออกแบบกระบวนการในการติดตามยานพาหนะ และขั้นตอนสุดท้ายคือการออกแบบตัวชี้วัด(KPI) และฐานข้อมูลสำหรับระบบติดตามยานพาหนะ ผลลัพธ์ที่ได้จากงานวิจัยนี้คือ แนวคิดและขั้นตอนในการออกแบบระบบติดตามยานพาหนะที่เหมาะสมกับลักษณะงานขนส่งต่างๆ รวมทั้งวัตถุประสงค์การใช้งาน โดยจะให้ข้อมูลรูปแบบของอุปกรณ์ติดตามที่เป็นไปได้ ต้นทุนในการใช้ระบบติดตามแต่ละแบบ ขั้นตอนในการติดตามยานพาหนะ(work flow) ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอนการขนส่ง และฐานข้อมูลของระบบติดตามยานพาหนะ แนวทางในการออกแบบระบบติดตามยานพาหนะที่ได้จากงานวิจัยนี้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบและวางระบบติดตามยาพาหนะได้ โดยการประเมินส่วนประกอบที่เหมาะสมของระบบ ขั้นตอนการทำงาน ความคุ้มค่าจากการใช้ระบบ ซึ่งจะช่วยให้ระบบติดตามยานพาหนะที่ได้มีความสอดคล้อง เหมาะสมกับลักษณะการทำงานขนส่งของบริษัทต่างๆมากยิ่งขึ้นen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to develop a framework for designing vehicle tracking system based on these tracking technologies: GPS on-line, GPS off-line and Check-in system (RFID or computer check-in). The research procedure consists of five steps: surveying transportation in some companies, categorizing the fleet by transportation characteristics, defining appropriate tracking technologies to be applies, designing vehicle tracking work flow, developing key performance indicator (KPI) and associated database. The output of this research is a framework for designing appropriate vehicle tracking system for each transportation characteristics defined as well as the purpose of using the system. This framework can provide information about possible tracking technologies to be used, operating cost estimation for the system, vehicle tracking working process, KPIs involved in each process, and database model for the system. The proposed framework can be applied in designing and implementing the system by using it to evaluating appropriate components for the system, the work flow for the system, and the benefit from the system. By all this information, applying to the design of the system can lead to more suitable vehicle tracking system for the company.en
dc.format.extent2295518 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2003-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectระบบกำหนดตำแหน่งบนโลกen
dc.subjectการขนส่งen
dc.subjectระบบกำหนดรหัสประจำตัวด้วยคลื่นความถี่วิทยุen
dc.titleการออกแบบระบบติดตามยานพาหนะสำหรับการขนส่งen
dc.title.alternativeDesign of vehicle tracking system for transportationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorpaveena.c@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.2003-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pasapong_ar.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.