Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2643
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์-
dc.contributor.authorสมเกียรติ ปิยะธีรธิติวรกุล-
dc.contributor.authorอรัญญา พลพรพิสิฐ-
dc.contributor.authorวีณา เคยพุดซา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาอายุรศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาอายุรศาสตร์-
dc.contributor.otherไม่มีข้อมูล-
dc.date.accessioned2006-09-19T09:31:09Z-
dc.date.available2006-09-19T09:31:09Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2643-
dc.description.abstractการศึกษาประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกันโรควิบริโอซีสในกุ้งกุลาดำที่อายุต่างกัน ที่ผลิตขึ้นจากเชื้อ Vibrio parahaemolyticus ที่ฆ่าด้วยความร้อน แล้วนำไปใช้ทดลองในกุ้งช่วง post larva ที่ 20 และกุ้งจากบ่อดินอายุ 60 วัน ด้วยวิธีการจุ่มแช่ (Bath) เป็นระยะเวลานาน 30 นาที แล้วศึกษาเปรียบเทียบดูอัตรารอดของกุ้งที่เลี้ยงนาน 32 วัน ในกลุ่มที่ได้รับวัคซีนระดับความเข้มข้น 10[Superscript 9], 10[superscript 11] และ 10[superscript 13] CFU/ml. กับกลุ่มที่ไม่ได้รับวัคซีนซึ่งเป็นกลุ่มควบคุม พบว่าอัตรารอดไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) หลังจากนั้นทำการเหนี่ยงนำให้เกิดโรควิบริโอซีสด้วยแช่เชื้อพิษทับ (challenge) ที่ระดับความเข้มข้น 10[superscript 18] CFU/ml. เป็นเวลานาน 9 วันในกุ้งกลุ่มทดลองเบื้องต้น แล้วทำการศึกษาเปรียบเทียบดูอัตรารอดของกุ้งกุลาดำที่อายุต่างกัน ในกลุ่มที่ได้รับวัคซีนระดับความเข้มข้น 10[superscript 9], 10[superscript 11] และ 10[superscript 13] CFU/ml. กับกลุ่มที่ไม่ได้รับวัคซีนซึ่งเป็นกลุ่มควบคุม พบว่าอัตรารอดไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนผลของการเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตของกุ้งบ่อดิน ระหว่างกลุ่มของกุ้งที่ได้รับวัคซีนกับกลุ่มควบคุม โดยดูจากน้ำหนักกุ้งที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยต่อตัวภายในระยะเวลาที่เลี้ยงนาน 32 วัน พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยที่กลุ่มไม่ได้แช่วัคซีนจะมีน้ำหนักตัวเฉลี่ยเพิ่มขึ้นมากกว่าen
dc.description.abstractalternativeThe efficacy of V. parahaemolyticus heat killed bacterin was tried to against vibriosis in P. monodon at post larva 20 and 2 months old after rearing in grow-out pond. The animal was bathed for 30 minutes in bacteria at dosage 10[superscript 9], 10[superscript 11], and 10[superscript 13] CFU/ml. The challenge was done with V. parahaemolyticus at concentration of 10[superscript 18] CFU/ml. The growth rate of post larva 20 and survival rate of both groups of animal were not significance different. Incontrast, the growth rate of control 2 month old group was significantly higher than vaccinated group.en
dc.format.extent3006740 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกุ้งกุลาดำ--โรคen
dc.subjectวัคซีนวิบริโอซีสen
dc.titleประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกันโรควิบริโอซีสชนิดเชื้อตาย ต่ออัตรารอดของกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon) ที่อายุต่างๆ กันen
dc.title.alternativeThe efficacy of vibriosis bacterin to survival rate of Penaeus monodon of different stageen
dc.typeTechnical Reporten
dc.email.authorjirasak.t@chula.ac.th-
dc.email.authorSomkiat.P@Chula.ac.th-
dc.email.authorparanya@chula.ac.th, Aranya.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Vet - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jirasak(Vet).pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.