Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26670
Title: Exclusive breastfeeding experiences among mothers in Bangkok, Thailand : findings from a mixed-methods study
Other Titles: ประสบการณ์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างครบถ้วนของแม่ในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย : ผลการศึกษาด้วยวิธีการผสมผสาน
Authors: Barnes, Sarah Bennett
Advisors: Usaneya Perngparn
Other author: Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences
Advisor's Email: pusaneya@chula.ac.th
Subjects: Breast feeding -- Thailand -- Bangkok
Issue Date: 2011
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The purpose of this mixed-methods study was to investigate knowledge, attitude and exclusive breastfeeding practice, as well as, facilitators and barriers to exclusive breastfeeding in Bangkok. This cross-sectional study of 208 postpartum mothers used a quantitative questionnaire to assess knowledge, attitude and practice, as well as facilitators and barriers to exclusive breastfeeding practices. Qualitative analyses were based on in-depth interviews of 7 postpartum mothers and 2 breastfeeding experts. Data were analyzed using descriptive statistics, Chi square and multivariable analyses. In the quantitative analyses, 14% of Thai women in Bangkok did exclusive breastfeeding for some duration of time, with 10.1% exclusively breastfeeding for 6 months. Income level, knowledge of breastfeeding, number of times breastfeeding was discussed during antenatal visits and caesarean deliveries were positively associated with exclusive breastfeeding, with number of times breastfeeding discussed being the most highly associated facilitator (two times: OR 3.798, 95% CI: 1.039, 13.879; 3 or more times: OR 3.374, 95% CI: 1.034, 11.016). Qualitative data showed low milk supply, working outside the home, supplemental feedings (especially water) and perceived lack of supports as barriers and parents, hospital staff and knowledge as strong facilitators to an exclusive breastfeeding practice. Increased knowledge regarding an infant’s ability to thrive on breast milk alone for 6 months and enhanced discussions during antenatal care are important to increase exclusive breastfeeding.
Other Abstract: วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยวิธีการผสมผสานนี้เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติทั้งในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างครบถ้วนและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ไม่ครบถ้วน พร้อมทั้งหาปัจจัยสนับสนุนและอุปสรรคในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในกลุ่มมารดาที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร การศึกษาแบบภาคตัดขวางกับมารดาหลังคลอด จำนวน 208 คน โดยใช้แบบสอบถามเชิงปริมาณประเมินความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติพร้อมทั้งหาปัจจัยสนับสนุนและอุปสรรคในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างครบถ้วน การวิเคราะห์ในเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับมารดาหลังคลอดจำนวน 7 คน และผู้เชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จำนวน 2 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณา การทดสอบไค-สแควร์ และการวิเคราะห์พหุตัวแปร ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ พบว่า ผู้หญิงไทยในกรุงเทพมหานครจำนวน ร้อยละ 14 มีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างครบถ้วนในบางช่วงเวลา ซึ่งมีอยู่จำนวนร้อยละ 10.1 ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างครบถ้วนเป็นระยะเวลา 6 เดือน ได้มีการพูดคุยกันในระหว่างที่มีการนัดหมายก่อนคลอดและการผ่าคลอดในเรื่องระดับของรายได้ ความรู้ในเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และระยะเวลาในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ซึ่งพบว่ามีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างครบถ้วน โดยจำนวนครั้งของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่ได้มีการพูดคุยกันมีความสัมพันธ์กับผู้ให้คำแนะนำสูงที่สุด (จำนวน 2 ครั้ง: OR 3.798, 95% CI: 1.039, 13.879; จำนวน 3 ครั้งหรือมากกว่า: OR 3.374, 95% CI: 1.034, 11.016) ข้อมูลเชิงคุณภาพได้แสดงให้เห็นถึงปริมาณน้ำนมที่น้อย การทำงานนอกบ้าน การให้อาหารเสริมอื่นๆ (โดยเฉพาะน้ำ) และขาดการได้รับการสนับสนุนจากอุปสรรคต่างๆและพ่อแม่ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลและความรู้ในการเป็นผู้ให้คำแนะนำที่เข้มแข็งด้านการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างครบถ้วน ดังนั้นการมีความรู้เพิ่มมากขึ้นในเรื่องของความสามารถของทารกที่จะเจริญเติบโตด้วยการกินนมแม่เพียงอย่างเดียวเป็นระยะเวลา 6 เดือน และการเพิ่มการให้คำแนะนำพูดคุยในช่วงที่มีการฝากครรภ์ เป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยเพิ่มการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างครบถ้วนได้
Description: Thesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2011
Degree Name: Master of Public Health
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Public Health
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26670
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1741
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2011.1741
Type: Thesis
Appears in Collections:Pub Health - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sarah_be.pdf2.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.