Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26944
Title: | สมรรถภาพทางกายของนักเรียนในโรงเรียนสอนคนหูหนวก ในกรุงเทพมหานคร |
Other Titles: | The physical piness of students in the school for the deaf in Bangkok Metropolis |
Authors: | ศุกล อริยสัจสี่สกุล |
Advisors: | รัชนี ขวัญบุญจัน |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Issue Date: | 2530 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนในโรงเรียนสอนคนหูหนวก โดยใช้แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายมาตรฐานระหว่างประเทศ นำข้อมูลที่ได้มาหาค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐานแปลงเป็นคะแนนมาตรฐาน เปรียบเทียบสมรรถภาพทางกายรวมโดยทดสอบค่า “ที” วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนหูหนวกชายและหญิงมีค่าเฉลี่ยสมรรถภาพทางกาย ตามลำดับดังนี้ วิ่ง 50 เมตร 9.29 และ 10.25 วินาที ยืนกระโดดไกล 157.44 และ 127.86 เซนติเมตร แรงบีบมือ 20.65 และ 18.03กิโลกรัม ลุกนั่ง 18 และ 16 ครั้ง ดึงข้อ 3 ครั้ง และงอแขนห้อยตัว 11.30 และ 6.20 วินาที วิ่งเก็บของ 12.42และ 13.37 วินาที วิ่งระยะ 600 เมตร 4 นาที 31 วินาที และ 3 นาที 44 วินาที (สำหรับชายหญิงต่ำกว่า 12 ปี) วิ่งระยะ 800 เมตร 5 นาที 44 วินาที (สำหรับชายหญิงสูงกว่า 12 ปี) วิ่งระยะ 1000เมตร 5 นาที 28 วินาที(สำหรับชายหญิงสูงกว่า 12 ปี) งอตัวข้างหน้า 12.50 เซนติเมตร (เฉพาะหญิง) นักเรียนหูหนวกรวมชายหญิง แบ่งตามกลุ่มอายุ 10-11 ปี 12-13 ปี และ 14-15 ปี มีค่าเฉลี่ยสมรรถภาพทางกาย ตามลำดับดังนี้ วิ่ง 50 เมตร 10.38, 9.63 และ 8.89 วินาที ยืนกระโดดไกล 126.82, 145.64 และ 168.38 เซนติเมตร แรงบีบมือ 14.53, 18.74และ 27.25 กิโลกรัม ลุกนั่ง 16, 18 และ 18 ดึงข้อ 2 และ 4 ครั้ง (เฉพาะอายุสูงกว่า 12 ปี และงอแขนห้อยตัว 4.34 และ 6.58 และ4.33 วินาที วิ่งเก็บของ 13.44, 12.78 และ 12.03 วินาที วิ่งระยะ 600 เมตร 4 นาที 19 วินาที (เฉพาะอายุต่ำกว่า 12 ปี) วิ่งระยะ 800เมตร 6นาที 27 วินาที และ 4 นาที 40 วินาที (เฉพาะหญิงอายุสูงกว่า 12 ปี) วิ่งระยะ 1000 เมตร 5 นาที 57 วินาที และ 4 นาที 54 วินาที (เฉพาะชายอายุสูงกว่า 12 ปี) งอตัวข้างหน้า 11.12, 12.71 และ 15.33 เซนติเมตร (เฉพาะหญิง) ผลการเปรียบเทียบสมรรถภาพทางกายรวมของนักเรียนหูหนวกชายดีกว่าหญิงอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 และสมรรถภาพทางกายรวมของนักเรียนหูหนวกรวมชายหญิง ในกลุ่มอายุ 14-15 ปี ดีกว่าในกลุ่มอายุ 10-11ปี และ12-13 ปี อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 และในกลุ่มอายุ 12 ปี ไม่แตกต่างกับกลุ่มอายุ 10-11 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 |
Other Abstract: | The purposes of the research were to study and compare physical fitness of students in the school for the deaf. The International Committee for Standardized Physical Fitness Test was used to collect data. The data then were computed and analyzed by mean, standard deviations, T-Score, T-test, One way analysis of Variance and Scheffe’s multiple comparison. It was found that the means of physical fitness of the male and female deaf students were as follow 9.29 and 10.25 seconds for 50-meter sprint, 157.44 and 127.86 centimeters for standing broad jump, 20.65 and 180.3 kilograms for hand grip, 18 and 16 times for sit-up, 3 times for pull up and 11.30 and 6.20 seconds for flexed-arm hand, 12.42 and 13.37 seconds for shuttle run, 4 minutes 31 secondand 3 minutes 44 seconds for 600 meters run (for higher than 12 year old female) 5 minutes 28 seconds for 1000 meters run (for higher than 12 year old male) 12.50 centimeters for trunk0forward flexion (for female). The means of physical fitness of the deaf students both male and female separated into 3 groups according to their ages; 10-11, 12-13 and 14-15 years were as follow 10.38, 9.63 and 8.89 seconds for 50 meter print, 126.82, 145.64 and 168.38 centimeters for standing broad jump 14.53, 18.74 and 27.25 kilograms for hand grip 16, 18 and 18 times for hand grip, 2 and 4 times for flexed-arm hand (for higher than 12 year old) and 4.34, 6.58 and 4.33 seconds for flexed-arm hand 13.44, 12.78 and 12.03 for shuttle run 4 minutes 19 seconds (for lower than12 year old) 6 minutes 27 seconds and 4 minutes 40 seconds (for higher than 12 year old female) 5 minutes 57 seconds and 4 minutes 54 seconds (for higher than 12 year old male) 11.12, 12.71 and 15.33 centimeters for trunk-forward flexion (for female). The total physical fitness of the male deaf students were better than those of the female deaf student at .01 level of significance. The total physical fitness of the deaf students both males and females of the 14-15 age group was better than those of the 10-11 age group and those of the 12-13 age group with a level of significant at .01 and there was no significant difference of student’s physical fitness between the 12-13 and the 10-11 age group. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530 |
Degree Name: | ครุศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | พลศึกษา |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26944 |
ISBN: | 9745683256 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sukol-ari_front.pdf | 13.57 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sukol-ari_ch1.pdf | 8.08 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sukol-ari_ch2.pdf | 26.55 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sukol-ari_ch3.pdf | 4.19 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sukol-ari_ch4.pdf | 12.63 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sukol-ari_ch5.pdf | 9.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sukol-ari_back.pdf | 29.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.