Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26950
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชัยศักดิ์ หรยางกูร-
dc.contributor.advisorจันทิมา เพียรเวช-
dc.contributor.authorสุรจิต เจริญยศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-29T08:08:31Z-
dc.date.available2012-11-29T08:08:31Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741743181-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26950-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการออมเงินในรูปกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของไทยมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจไทย ทั้งในระดับจุลภาค และระดับภาค เพื่อให้การจัดการทรัพย์สินของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมีมาตรฐานสูง ขึ้นอีกขั้นหนึ่ง จึงมีแนวความคิดที่จะนำเอาหลักกฎหมายทรัสต์มาประยุกต์ใช้กับกองทุนสำรอง เลียงชีพไทย ซึ่งในปัจจุบันมีการดูแลบริหารจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพโดยคณะกรรมการกองทุน ซึ่งมีฐานะเป็นผู้แทนของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ วัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์นี้ มุ่งศึกษาถึงโครงสร้างของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ แนวความคิด รูปแบบ หลักเกณฑ์ทางกฎหมายในการจัดตั้งและจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพภายใต้หลักกฎหมายทรัสต์ โดยเปรียบเทียบกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของต่างประเทศที่มีการจัดตั้งในรูปทรัสต์ซึ่งได้แก่ กองทุน 401 (k) plans ในประเทศสหรัฐอเมริกา และ Superannuation Fund ในประเทศออสเตรเลีย จากการศึกษาพบว่า กองทุนสำรองเลี้ยงชีพในประเทศดังกล่าว มีหลักกฎหมายที่เพียงพอ และชัดเจนในการที่จะนำมาใช้กับการบริหารจัดการเงินออมในรูปกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง มีการกำหนดบทบาท หน้าที่ และความรับผิดที่ชัดเจนของคณะกรรมการกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพ (Fund Committee) ตามหลักความไว้วางใจ (Fiduciary Principle) การนำหลักกฎหมายทรัสต์มาประยุกต์ใช้กับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของไทย สามารถทำได้ สองทาง คือการสร้างหลักกฎหมายขึ้นมาใช้เป็นการเฉพาะกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของไทย และ การประยุกต์หลักกฎหมายทรัสต์มาใช้กับรูปแบบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของไทย ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการให้ ความคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของสมาชิกกองทุนทั้งหลาย ซึ่งมีฐานะเป็นผู้รับประโยชน์จากกองทุน (Beneficiaries) รวมทั้งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการกองทุนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายของการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพในอันที่จะให้ความคุ้มครองเงินกองทุนซึ่งถือได้ว่า เป็นเงินออมจำนวนสุดท้ายที่จะเก็บไว้ใช้จ่ายในยามชราภาพ และยังผลให้ตลาดทุนของประเทศไทยมี ความมั่นคงและพัฒนาไปอีกขั้นหนึ่ง-
dc.description.abstractalternativeThe saving under the provident fund (the fund) in Thailand plays an important role in the Thailand economic system both micro and macro. Nowadays, the fund administration is done by the Board members of the committee who are in charge as the representatives of the fund. เก order to manage the assets of the fund in a more efficient way, there is a proposal to apply trust law to establish and administer the fund in Thailand. This thesis aims to study the structure of the fund, concept, model and legal principles about the trustee who is responsible for the management of the fund. Moreover, it will study the roles, duties and responsibilities of the trustee by comparing with those of the trustee who administer the 401 (k) plans in the United State and those of administration under the Superannuation Fund in Australia. The study indicates that the provident funds in the two said countries have sufficient and clear legal principles to be applied to the administration of provident funds especially in specifying the roles, duties, and liabilities of the fund committee under the fiduciary principles in a rather clear manner. The concept of trust law to protect the fund in Thailand can be applied in two steps. The first one is to create the applicable trust law for the fund in Thailand. The second one is the application of trust principles to the fund in Thailand. The purposes of both steps are to protect the benefits of a fund member who is a beneficiary of the fund and to increase the efficiency of the administration to accomplish the objectives and goals of the establishment of the fund. The outcomes of the trust law application are to protect the last saving of the fund members which is meant for the expenses during retirement period and in turn to make stable and to develop the capital market in Thailand.-
dc.format.extent2992378 bytes-
dc.format.extent1940036 bytes-
dc.format.extent17495124 bytes-
dc.format.extent13413057 bytes-
dc.format.extent21408587 bytes-
dc.format.extent6011367 bytes-
dc.format.extent4870437 bytes-
dc.format.extent19753081 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการนำหลักกฎหมายทรัสต์มาใช้ในการให้ความคุ้มครองการออมเงินในรูปกองทุนสำรองเลี้ยงชีพen
dc.title.alternativeApplication of trust law to protect saving under provident funden
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Surajit_ch_front.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open
Surajit_ch_ch1.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open
Surajit_ch_ch2.pdf17.09 MBAdobe PDFView/Open
Surajit_ch_ch3.pdf13.1 MBAdobe PDFView/Open
Surajit_ch_ch4.pdf20.91 MBAdobe PDFView/Open
Surajit_ch_ch5.pdf5.87 MBAdobe PDFView/Open
Surajit_ch_ch6.pdf4.76 MBAdobe PDFView/Open
Surajit_ch_back.pdf19.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.